Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด (ความผิดปกติทางจิตใจ) - Coggle…
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด (ความผิดปกติทางจิตใจ)
การเปลี่ยนแปลงของความไม่สมดุลทางสภาพอารมณ์
คามตึงเครียด วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ความรู้สึกเศร้าโสก ซึมเศร้า คิดว่าตนเองไม่มีคุณค่า (Self-depreciative thinking)
ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
ความผิดปกติของจิตใจของมารดาหลัวคลอด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (postpartum blues)
เป็นความแปรปรวนทางจิตใจเล็กน้อย มักเกิดขึ้นในวันที่ 3 หรือ 4 ภายหลังคลอด จะหายไปในวันที่ 10 อาการนี้จะพบได้ 60-80 เปอร์เซ็นต์ ของมารดาหลังคลอด สาเหตุจากการลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอรโรน ความเครียก จากการอดนอน มีอาการอ่อนเพลีย
วิตกกังวล
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ( Postpartum depression)
ภาวะจิตใจหม่นหมอง หดหู่และเศร้าสร้อย ท้อแท้ไปจนถึงหมดหวัง แต่เมื่อสาเหตุของความเศร้าถูกขจัด บุคคลนั้นจะกลับคืนสู่สภาพปกติ
มี3ระยะ
มีอาการโศกเศร้าภายหลังคลอด และมีความคิดฆ่าตัวตายเนื่องจากมีความรู้สึกเสียใจ สูญเสีย
ระยะที่ 2 อาจเกิดขึ้นภายในช่วง 1-3 เดือนหลังคลอด พยายามสนองความต้องการของทารก ต้องการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย บทบาทหน้าที่ที่เพิ่มขึ้น พักผ่อนไม่เพียงพอจากการเลี้ยงดูทารก
ระยะที่3 อาจใช้เวลานานถึง 1 ปีภายหลังคลอด ปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เซื่องซึม
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
จะเกิดขึ้นภายในระยะ 48-72 ชั่วโมงแรงหลังคลอด อาการของโรคอาจจะพบได้ภายใน 1 เดือนแรกหลังคลอด
มารดาที่มีความเสี่ยงสูง คือ มารดาที่เคยมีประวัติความผิดปกติทางจิตใจมาก่อน
ชนิด
โรคจิตเภท ( Schizophrenia)
โรคซึมเศร้า (Psychotic depression reaction)
โรคแมนเนีย (Mania-depressive illness
โรคจิตเนื่องจากสมองพิการ (Toxic psychosis)