Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 จิตวิทยาพัฒนาการผู้ใหญ่ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 จิตวิทยาพัฒนาการผู้ใหญ่
แนวคิดและความเป็นมา
ความเป็นมา
ในช่วงแรกนักวิชาการไม่ได้ให้ความสำคัญ และได้เริ่มให้ความสำคัญในระยะหลัง ๆ โดยที่มีเหตุเนื้องมาจากการที่ผู้ใหญ่มีจำนวนมากขึ้น และมีอายุยืนยาวขึ้น และมีมุมมองในการศึกษาพัฒนาการผู้ใหญ่ตลอดชีวิต รวมถึงการศึกษาพัฒนาการผู้ใหญ่มาจากปัจจัยแรงผลักดันต่อพัฒนาการ และแรงผลักดันต่อพัฒนาการ
แนวคิด
วัยผู้ใหญ่นับเป็นช่วงระยะเวลาที่ยาวนานมาก
2.วัยผู้ใหญ่มีความสำคัญอย่างยิ่งทั้งเป็นวัยที่ยาวนานที่สุด
3.ลักษณะความเป็นผู้ใหญ่ประกอบด้วย เป็นอิสระแก่ตนเอง สามารถตอบสนองเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมได้ คำนึงถึงส่วนรวมมากกว่าตนเอง ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ กล้าเผชิญความอดทนต่อความคิดเห็นของผู้อื่น มีการแก้ปัญหา สามารถผชิญกับดวามผิดหวังและดวบคุมอารมณีได้เป็นผู้ที่ใช้ดวามสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ และมีแผนระยะยาว
ความเปลี่ยนแปลงของวัยผู้ใหญ่ มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย การเปลี่ยนแปลงประสาทรู้สึก การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย
ทฤษฎี
1.ทฤษฎีพัมนาการทางจิตสังคม
ทฤษฎีพัฒนาการจิตสังคม เนันพัฒนาการในแต่ละขั้น ซึ่งเป็นการที่ผู้ใหญ่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม โดยหากพัฒนาการประสบความสำเร็จในขั้นดังกล่าว ก็จะไม่เกิดพฤติกรรมด้านลบ ในแต่ละขั้นของพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ทั้งตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย จะมีความแตกต่างกัน
การประยุกต์ใช้
ใช้กับผู้ใหญ่
1.ให้ความสำคัญกับการพัฒนาความไกล้ชิดผูกพัน
2.สร้างผลผลิตหรือผลงานให้กับอนุชชนรุ่นหลัง
3.สร้างความรู้สึกที่มั่นคงในชีวิต
ใช้กับองค์กร
1.ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้หรืการเข้าอบรมที่เป็นบรรยากาศการอบรมกันเอง
2.ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรที่จะนำไปพัฒนางานสร้างผลงานของตน
3.องค์ควรมีหลักสูตรการเตรียมตัวเกษียณในวัยไกล้ถึงผู้ใหญ่ตอนปลายเพื่อการเตรียมการสำหรับคนในองค์กร
3.ทฤษฎีภารกิจตามพัมนาการ
3.1.บุคคลที่พัฒนาตนได้ตามภารกิจตามพัฒนาการจะมีความสามารถแยกแยะอารมณ์และจากกันอย่างชัดเจน มีความสามารถในการพิจารณา วิเคราะห์ ไตร่ตรอง สามารกระจ่าง มีเหตุผล สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของเหตุและผล และพิจารณาทางเลือกต่างๆ มีความเข้าใจและรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น ที่แม้จะแสดงออกเพียงเล็กน้อยได้ มีความอดทน สามารถเผชิญสถานการณ์ที่สับสนทั้งด้านความคิดหรือด้านอารมณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงเหตุการณ์ในอดีตและนำมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในปัจจุบัน หาทางออกให้กับความปรารถนาของตนในทางที่สังคมยอมรับ เปิดตนเองให้กว้าง ยืดหยุ่น สามารถจะปรับและเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.ภารกิจตามพัฒนาการตามทฤษฎีของฮาวิกเฮิร์สท ได้เน้นถึงงานตามขั้นพัฒนาการของแต่ละช่วงวัย เมื่อบุคคลบรรลุขั้นพัฒนาการในแต่ละวัย จะเป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จในการปรับตัว ทั้งวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลายหรือผู้สูงอายุ
3.3 การประยุกต์ใช้
ใช้กับผู้ใหญ่
1.พัฒนาความสามารถด้านการศึกษาและความสามารถพิเศษ
2.มีกิจรรมเพื่อความเสียสละเพื่อส่วนรวม
3.มีกิจกรรมที่เป็นงานอดิเรกทำยามว่าง
4.ปรับตัวให้สามารถบรรลุภารกิจ
ใช้กับองค์กร
1.สนับสนุนกิจกรรมที่นำไปสู่การบรับตัว
2.สร้างบรรยากาศขององค์กรในการเปิดโอกาศให้เรยนรู้พัฒนาการทางอาชีพ
3.ส่งเสริมการวางแผนในงานอาชีพแต่ละตำแหน่งในองค์กร
2.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์
ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง
การประยุกต์ใช้
ใช้กับผู้ใหญ่
1.พัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองในการทำงาน
2.เป็นตัวแบบที่ดี
ใช้กับองค์กร
1.สร้างบรรยากาศเรียนรู้ตลอดเวลาให้เป็นนวัฒธรรมขององค์กร
2.เชิดชูตัวแบบที่ประสบความสำเร็จในการทำงานให้กับองค์กร
4.ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
จริยธรรมเป็นสิ่งที่สังคมกำหนดขึ้นมาว่า อยากจะให้สมาชิกของสังคม มีพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบอยู่ในตัว และลักษณะใดที่สังคมไม่นิยมก็ไม่อยากให้สมาชิกมีอยู่ในตัว แบ่งได้เป็น 4 ด้านคือ
ความรู้เชิงจริยธรรม
ทัศนคติเชิงจริยธรรม คือ
เหตุผลเชิงจริยธรรม
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
การประยุกต์ใช้
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมกับผู้ใหญ่ โดยดระหนักในการทำสิ่งที่ถูกที่ควรเพื่อให้เป็นไปตามการเข้าใจกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในสังคม เกิดจากการดกลงกันของบุคคลในสังคสร้างความรู้สึกผูกพันต่อสัญญาสังคมกับบุดคลต่าง ๆ กล้าที่จะยืนหยัดตามหลักการจริยธรรมสากล ปฏิบัตามหลักการทางจริยธรรมที่ตนเองเลือกที่จะทำ เพราะเห็นว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงามและสนับสนุนการสิ่งที่ถูก ที่ควร เพื่อประโยชน์สุขของทุกคนในสังคมและเพื่อพิทักษ์สิทธิ์ของทุกคนในสังคม
การประยุกต์ใช้กับองค์กร ส่งเสริมผู้ที่ประสบความสำเร็จในการทำงานจะต้องมีบัติ ลักษณะทางจิตใจ สนับสนุนให้มีบรรยากศของการวิพากษ์ด้านคุณธรรมจริยธรรมให้มีการอบรมหรือพัฒนาลักษณะทางคุณธรรม จริยธรรม จัดระบบการประเมินให้ส่งเสริมและการพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์