Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทานและต้นทุนของบริการสุขภาพ, จัดทำโดย : นางสาววิมลสิริ ทางชอบ …
อุปสงค์ อุปทานและต้นทุนของบริการสุขภาพ
อุปสงค์ (Demand)
อุปสงค์ด้านสุขภาพ : ราคาสินค้าและบริการสุขภาพมีราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าและบริการสุขภาพลดลง
จำนวนสินค้าและบริการที่ผู้ซื้อต้องการซื้อ ณ ระดับบราคาต่าง ๆ หรือ ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ หรือ ณ ระดับราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง
ประเภท
อุปสงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health)
อุปสงค์ต่อการรรักษาพยาบาล (Demand for health care)
การของเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์
ภาวะความเจ็บป่วย หรือสุขภาพของแต่ละบุคคล
เพศ อายุ เศรษฐกิจ รายได้ครัวเรือน การออม งบประมาณรัฐ การกระจายรายได้ ระดับการศึกษา
ความเชื่อ ทัศนคติต่อการรักษาพยาบาลและบริการสุขภาพ
ข้อแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์
คุณภาพการรักษาพยาบาล
ราคา ยา ราคา บริการ
จำนวนสถานพยาบาลสาธารณสุข
จำนวนผู้ใช้บริการ
การประกันสุขภาพ การประกันสังคม
จำนวนประชากรของประเทศทั้งหมด ต่อสถานพยาบาล ต่อจำนวนเตียง
อื่นๆ เช่น การเข้าถึง ความสะดวก รสนิยมผู้รับบริการ การส่งเสริมการขายโฆษณา
อุปทาน (Supply))
ตัวกำหนดอุปทานบริการสุขภาพ :ปริมาณเสนอขายและบริการสุขภาพขึ้นอยู่กับราคาและบริการนั้น เป้าหมายของธุรกิจ สภาพเทคนิคในการผลิต
ปริมาณเสนอขายงานบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตต้องการเสนอขาย ซึ่งแปรผันตรงตามราคาของบริการนั้น
อุปทานด้านบริการสุขภาพ
ปริมาณยา
ร้านขายยา
ปริมาณแพทย์
พยาบาล
สถานบริการสุขภาพ
คลนิกเอกชน
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
ราคาของทรัพยากรการผลิต
จำนวนหน่วยผลิต
สถานการณ์ทางการเมืองและสภาวะอากาศ
เทคโนโลยีการผลิต
นโยบายรัฐบาล
ประเภทสินค้าและบริการสุขภาพ
สินค้าและบริการที่ใช้ทดแทนกันได้
ยาบางชนิด
ความไวในการเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
สินค้าและบริการที่ใช้ประกอบกัน สิ่งที่ต้องใช้ร่วมกัน
น้ำตาลกับผงกาแแฟ
ความไวในการเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณเป็นไปในทิศทางตรงข้าม
สินค้าและบริการปกติ
ผู้ซื้อต้องการซื้อเพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้สูงและจะซื้อน้อยลงเมื่อมีรายได้ลดลง
มีความสัมพันธ์ทางบวกระหว่่างปริมาณเสนอซื้อกันรายได้ จะมีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคา และปริมาณเปผ็นไปในทิศทางเดียวกัน
สินค้าและบริการด้อยคุณภาพ
ผู้รับบริการจะซื้อสินค้าและบริการลดน้อยลง เมื่อรายได้สูงขึ้น และจะซื้อเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้ลดลง
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเสนอซื้อกับรายได้สินค้า และบริการด้อยคุณภาพจึงมีความสัมพันธ์ผกผันหรือในททางตรงข้ามกัน
ต้นทุนบริการสุขภาพ
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดจากการผลิตสินค้านั้น Economics cost = Implicit Cost + Explicit Cost
ต้นทุนทางต้นทุนทางบัญชี
ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและลงบัญชีไว้ Accounting cost = Explicit Cost
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิต
ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost )
ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกเป็นนตัวเงินจริง ๆ
ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost)
ต้นทุนที่เกิดจากการผลิตจริง ๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน
การจำแนกประเภทต้นทุน
ตามพฤติกรรม
ต้นทุนคงคงที่
ต้นทุนผันแแปร
ตามวัตถุประสงค์
ต้นทุนทางตรงรวม
ต้นทุนทางตรง
ต้นทุนทางอ้อม
ตามหน้าที่
ต้นทุนการผลิต ได้แก่ วัสดุ ค่าแรง ค่าเสื่อมราคา
ต้นทุนดำเนินงาน ได้แก่ ต้นทุนการขาย
ต้นทุนการเงิน คือ ดอกเบี้ยจากเงินที่กู้มา
แบ่งตามทรัพยากร
ต้นทุนวัสดุ : ค่าวัสดุที่ใช้ในการผลิต
ต้นทุนค่าแรง : เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทนรวมสวัสดิการต่าง ๆ
การคิดต้นทุน
ค่าเสียโอกาส
ค่าเสื่อมราคาอายุการใช้งานสินทรัพย์
ราคาดุลยภาพ
ราคาที่ทำให้จำนวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อมีค่าเท่ากับจำนวนสินค้าที่ผู้ผลิตประสงค์ที่จะขายออกในขณะเดียวกันพอดี
อุปสงค์ = อุปทาน
อุปสงค์ Excess demand : ความต้องการผู้ซื้อมีมากกว่าที่ผลิต
อุปทานส่วนเกิน Excess supply : ปริมาณผลิตมีมากกว่าความต้องการซื้อ
การปรับตัวของตลาดสุขภาพ :พฤติกรรมของตลาดถูกกำหนดโดยกลไกหรือมือที่มองไม่เห็น (Invisiblehand) ทำหน้าที่เป็นกลไกในการปรับราคาของผู้ซื้อและผู้ขาย
จัดทำโดย : นางสาววิมลสิริ ทางชอบ
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 26 ห้อง B