Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพาบาลหญิงที่มีเลือดออกระยะการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพาบาลหญิงที่มีเลือดออกระยะการตั้งครรภ์
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแท้ง
abortion หมายถึง การสิ้นสุดการตั้งครรภ์
WHO นับว่าแท้งคือGA< 20 wks. และ/หรือน้ำหนักของทารกน้อยกว่า 500 g.
ประเทศไทย ยังใช้เกณฑ์การตั้งครรภ์น้อยกว่า 28 wks.ถือว่าเป็นการแท้งหรือน้ำหนักทารกน้อยกว่า 1,000 g.
สาเหตุ
มารดา
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์
ความผิดปกติของปากมดลูกที่ขยายกว้างกว่าปกติ หรือความพิการแต่กำเนิดของมดลูก
แรงกระทบกระเทือน
ภาวะทุพโภชนาการ
ภาวะทางด้านอารมณ์
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
่เป็นเบาหวานและไม่สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลได้ หรือมีระดับ progesterone ไม่เพียงพอในระหว่างการตั้งครรภ์ หรือเป็นThyroid disease
การได้รับสารพิษ
การติดเชื้อ
เชื้อซิฟิลิส เชื้อคลาไมเดีย (Chlamydia trachomatis)
จะทำให้เกิดอุ้งเชิงกรานอักเสบ(PID)
สารเสพติดบางชนิด
อายุ
หญิงที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี และมีอายุมากกว่า 40 ปี
immunological factors
เช่น การไม่เข้ากันของหมู่เลือด ABO
ทารก/รก
มีความผิดปกติของจำนวนโครโมโซม (aneuploidy)
ส่วนใหญ่แท้งหลังGA< 12 wks.
กลุ่มที่มีจำนวนโครโมโซมปกติ (euploidy)
ส่วนใหญ่แท้งหลังGA> 12 wks. อายุมารดามากกว่า 35 ปี
บิดา
บิดาที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
ชนิดของการแท้ง
เกิดขึนเอง
การแท้งไม่ครบ (incomplete abortion)
เลือดออกทางช่องคลอดเล็กน้อย มีชิ้นส่วนของทารกและรกออกมาครบ ปากมดลูกเปิดเล็กน้อยหรือปิด
การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (inevitable abortion)
เป็นภาวะที่มีเลือดออกจาก โพรงมดลูกก่อนGA 20 wks.และไม่สามารถตั้งครรภ์ต่อไปได้
ปวดท้องเล็กน้อย-รุนแรง เลือดออกทางช่องคลอดปานกลาง ปากมดลูกเปิด
การแท้งครบ (complete abortion)
เลือดออกทางช่องคลอดมาก ปวดรุนแรง อาจมีชิ้นส่วนของทารกและรกออกมาไม่ครบ ปากมดลูกเปิดพร้อมกับมีชิ้นเนื้อค้างในปากมดลูก
การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
ภาวะที่มีเลือดออกจากโพรงมดลูกก่อนGA 20 wks.ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก ปากมดลูกยังไม่เปิด และไม่มีชิ้นส่วนของการตั้งครรภ์ออกมา
เลือดออกทางช่องคลอดเล็กน้อย อาจปวดท้องเล็กน้อย
การแท้งค้าง (missed abortion)
ทารกเสียชีวิต แต่รกและตัวทารกยังคั่งค้างอยู่ในโพรงมดลูกนานหลายวันเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน
มีเลือดออกทางช่องคลอดไม่มากถ้าการแข็งตัวของเลือดปกติ
การแท้งเป็นอาจิณ (habitual abortion)
ทำแท้ง
ถูกกำหมาย เพื่อการรักษา
หญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 13 ปี
เป็นอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพทางกายและจิตของผู้ตั้งครรภ์
ถูกข่มขืน
ทารกเสี่ยงพิการ
ผิดกฎหมาย
แท้งติดเชื้อ
พบเชื้อแบคทีเรีย เช่น anaerobic และ aerobic
มีไข้ ปวดรุนแรง มีเลือดออกทางช่องคลอดเล็กน้อย-มาก มีdischarge กลิ่นเหม็น ปากมดลูกอาจปิดหรือ เปิดขึ้นอยู่กับ มีชิ้นเนื้อค้างอยู่หรือไม่
การรักษา
การแท้งไม่ครบ
ขูดมดลูก ในกรณีที่พบว่ามีชิ้นส่วนของรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้างอยู่ในมดลูก
รายที่มีเลือดออกน้อยอาจเหน็บยา misoprostol (PGE1 ) ทางช่องคลอด
การแท้งครบ
แนะนำให้สังเกตอาการเลือดออกทางช่องคลอด อาการปวดท้อง ถ้ามีอาการผิดปกติเช่นนี้ให้มาพบแพทย์ ก่อนนัด
แนะนำให้พักให้ยาวิตามินและ ยาเสริมธาตุเหล็กบำรุงร่างกาย ถ้าแท้งภายGA> 20 wks. อาจให้ยาระงับการหลั่งน้ำนม
การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ถ้าปวดมากให้มอร์ฟีน
รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยพิจารณาจากGA 12 wks.ใช้วิธีการขยายปากมดลูกร่วมกับการขูดมดลูกหรือใช้เครื่องดูดสุญญากาศ ถ้าGA> 12 wks. ให้ oxytocin
การแท้งค้าง (missed abortion)
เจาะเลือดตรวจหาระยะเวลาการแข็งตัวของเลือด (coagulation time)
รายที่GA< 12 wks. ใช้วิธีการขูดมดลูก (dilatation and curettage) ถ้าGA>12 wks.อาจใช้วิธีเหน็บยาโพรสตาแกลนดิน ในช่อง คลอดเพื่อให้ปากมดลูกนุ่มและเปิดขยาย หลังจากนั้นทำการขยายปากมดลูกร่วมกบัการขูดมดลูกกรณี ที่ทารกยังออกมาไม่หมด
ให้สารน้ำหรือเลือด ในกรณีที่มีการเสียเลือด
การแท้งคุกคาม
แนะนำให้นอนพักผ่อน ห้ามลุกจากเตียง 24 – 48 ชั่วโมง
อาจใช้โพรเจสเทอโรนรักษาในรายที่พบว่ามีความบกพร่องของคอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum)
ถ้าปวดให้paracetamol
กรณีที่ตั้งครรภ์ไตรมาสที่หนึ่งของการตั้งครรภ์อาจตรวจปัสสาวะเพื่อทดสอบการตั้งครรภ์ (pregnancy test) โดยดูผลฮอร์โมน hCG เป็นระยะ ๆ เป็นการประเมินว่ายังตั้งครรภ์อยู่ หรือไม่
การทำแท้ง
ยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา
GA< 9 wks.
mifepristone 200 มิลลิกรัม 1 เม็ด จากนั้น 24-48 ชั่วโมง ใช้ยา misoprostol 800 ไมโครกรัม อมใต้ลิ้น หรืออมในกระพุ้งแก้มหรือสอดเข้าช่องคลอด
GA 9-24 wks.
รับประทานยา mifepristone 200 mg.
หลัง 36-48 ชั่วโมง ให้ misoprostol 800 ไมโครกรัม สอดเขา้ช่อง คลอด,misoprostol 2 เม็ด อมใต้ลิ้น หรือสอดเข้าช่องคลอด ทุก 3 hr. ไม่เกิน 5 ครั้ง
ให้ Oxytocin drip in 5% D/N/2 1,000 ml IV
การฉีดสารน้ำความเข้มข้นสูงเข้าในโพรงมดลูก ได้แก่ (intraamniotic hyperosmotic fluids)
ระวังรายที่เคยผ่าตัดอวัยวะในช่องท้องมาก่อน เพราะอาจมีพังผืดหรือส่วน ของลำไส้มาติดอยู่ที่ตัวมดลูกและการแทงเข็มเข้าไปในช่องท้องอาจทำให้เกิดอันตรายต่อลำไส้ได้
ห้ามรายที่เป็นโรคหัวใจ โรคไต และโรคความดันโลหิตสูง
แท้งติดเชื้อ
ถ้าปวดท้องมากให้ morphine, pethidine
ให้ยาปฏิชีวนะตามผลการเพาะเชื้อ
ให้ยากันบาดทะยัก tetanus antitoxin
ถ้าให้การรักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้นพิจารณาตัดมดลูกและปีกมดลูกทั้งสองข้าง
รายที่เกิดภาวะช็อกจัดให้นอนราบ ให้ออกซิเจนและวัดความดันของเส้นเลือดำ (central venous pressure)
ซ่ึงปกติอยู่ในระดับ 5 – 15 เซนติเมตรน้ำ