Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (necrotizing enterocolitis:NEC ) - Coggle Diagram
ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (necrotizing enterocolitis:NEC )
ความหมาย:เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการขาดเลือด มักเป็นที่ลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อย และเป็นสาเหตุการตายและทุพลภาพในทารกแรกเกิดได้มาก
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางรังสี
พบลมในชั้นผนังลำไส้ (pneumatosis intestinalis) มีลมและน้ำในช่องท้อง หรือมีลมที่ชั้นผนังของช่องท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Anemia, WBCลดลง, E'lyte imblance, ในรายที่รุนแรงจะมีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การสังเกต
ท้องอืด มองเห็นลำไส้เป็นลอน อาจไม่ถ่ายอุจจาระแล้วจึงถ่ายอุจจาระเหลว มีกลิ่นเหม็น ถ่ายเป็นเลือด อาเจียนเป็นน้ำดี ทารกมีอาการซึม ดูดนมได้ไม่ดี ร้องกวน หยุดหายใจ และหัวใจเต้นช้า
พยาธิกำเนิด
เยื่อบุลำไส้มีเลือดมาเลี้ยงลดลง
การให้อากหารผ่านทางเดินอาหาร
ติดเชื้อแบคทีเรีย
Prematurity
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะที่2 Difinite NEC
ระยะที่3 Advance NEC
ระยะที่1 Supected NEC
พยาธิวิทยา
เกิดการหลุดลอกที่เยื่อบุลำไส้ทารกจะมีอาการท้องอืดมากขึ้น
ทารกมีภาวะขาดเลือดที่ลำไส้
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือดปน
เลือดจากส่วนต่างๆของร่างกายไหลลัดไปยังอวัยวะที่สำคัญโดยเฉพาะที่หัวใจและสมอง
ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน
เมื่อเยื่อบุลำไส้ของทารกเป็นแผลเชื้อโรคจะเข้าสู่เยื่อบุชั้นในและกล้ามเนื้อของลำไส้ทำให้ก๊าซเข้าไปแทรกซึมในชั้นใต้เยื่อบุลำไส้และถ้ารุนแรงมากขึ้นอาจทำให้ลำไส้ทะลุได้
เมื่อมารดามีภาวะแทรกซ้อนระหว่างคลอด
การป้องกัน
ป้องกันการติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการใส่สายสวนสะดือ
เด็กที่มีภาวะเสี่ยงควรได้รับนมแม่ colostrum
การรักษา
ระยะแรกประคับประคอง (medical therapy)จนกว่าจะมีข้อบ่งชี้จึงจะรักษาด้วยการผ่าตัด
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้เลือดทดแทน
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การทดแทนสารน้ำและE'lyte ที่สูญเสีย
เฝ้าสังเกตอาการและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร ดูดลมและของเหลวออก
งดนมและสารเหลวที่ให้ผ้านทางเดินอาหาร
การผ่าตัด
ผนังหน้าท้องแดง
คลำพบก้อนในช่องท้อง
ลำไส้แตกทะลุ
พบก๊าซในหลอดเลือดดำ (Portal peristant delate loop) ในภาพถ่ายรังสีช่องท้อง
ข้อวินิจฉัย
มีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
check v/s วัด BT ทุก 4 ชม.ประเมินการติดเชื้อเพื่มมากขึ้น เช่น ซึมลง มีไข้ หนาวสั่น รับนมไม่ได้ ท้องอืดมากขึ้น เป็นต้น รายงานแพทย์
ให้ยาปฏิชีวนะตามมาตรฐาน 7R เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากยา
ให้การพยาบาลตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อเน้นการล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
NPO on OG-tubeเปิดสายต่อลงถุง ประเมิน contentลักษณะ สีและปริมาณ วัด AC ทุก 8 ชม.
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เจาะ Lab เพื่อติดตามอิเล็กโตรลัย
ชั่งน้ำหนักวันละครั้ง ควรเพิ่มขึ้นวันละประมาณ20-30kgs.
ดูแลให้สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
Check V/S, SpO2 ทุก 1-2 ชม.
ให้ LPRC ตามแผนการรักษา Check V/S ตามมตรฐานการให้เลือด เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากเลือด เจาะ Hct หลังเลือดหมด 4 ชม.
จัดท่านอนหนุนไหล่ให้ทางเดินหายใจตรง สังเกตการหายใจ,สีผิว