Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ระบบทางเดินหายใจ
โรคของระบบทางเดินหายใจ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
- เป็นโรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายชนิดที่มีอาการแสดงทางจมูก
- เกิดหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป แล้วเกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูก
- ทำให้เกิดอาการคัน น้ำมูกไหล จาม และคัดจมูก ตั้งแต่น้อย จนถึงเป็นมาก
- การตรวจหาจำนวนเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ จากภูมิแพ้ พบ Eosinopil ในเลือดสูง
- การตรวจหาจำนวน Eosinophil ในน้ำมก พบมากกว่าร้อยละ 30 ของเม็ดเลือดขาวที่ตรวจพบ
- การตรวจหาเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบจากภูมิแพ้ ชนิด Mast cell / Basophil ที่เยื่อบุจมูก พบ Mast cell และ Basophil มากกว่าคนปกติ
ไซนัสอักเสบ
- Sinus หรือโพรงอากาศข้างจมูก เป็นกลุ่มของช่องอากาศในกะโหลกศรีษะและใบหน้าอย่โโยรอบจมูก และมีทางติดต่อกับช่องจมูก
- มีหน้าที่ทำให้ลมหายใจอบอุ่น ชุ่มชื้น ช่วยกรองอากาศในรูจมูก และช่วยให้เสียงพูดมีความก้อง
- เป็นการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก แบ่งเป็นชนิดเฉียบพลัน และชนิดเรื้อรัง
- สาเหตุเกิดจากมีเชื้อโรคเข้าไปทำให้เยื่อบุอักเสบซึ่งอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือเชื้อรา
- รูเปิดของ sinus มีขนาดเล็กลง เมื่อมีการอักเสบจึงอาจตีบหรือตันได้ง่าย
- exudate มักขังอยู่ภายใน ถ้าเป็นหนอง เรียก empyma , ถ้าเป็น mucous เรียก mucocrlr
สาเหตุ - การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจตอนบน - ระยะแรกเกิดจากเชื้อไวรัส โรคหวัดทำให้เยื่อบุจมูกอักเสบ และอาจอักเสบต่อเนื่องเข้าไปถึงในไซนัส
- ต่อมาอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย โดยทั่วไปจะหายได้เป็นปกติ
- ถ้าติดเชื้อรุนแรง อาจมีการทำลายของเยื่อบุจมูกและเยื่อบุไซนัส ทำให้มีการบวมและมีผังผืด เกิดการอุดตันของรูเปิดระหว่างไซนัสกับโพรงจมูก ก็จะทำให้อักเสบกลายเป็นการอักเสบเรื้อรังได้
คออักเสบ
- เป็นโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ สาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย
- ต่อมามีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ส่วนใหญ่ได้แก่ Beta Streptococcus group A
- ไม่มีน้ำมูก ไอ หรือน้ำตา
- มีไข้สูง เจ็บคอ ครั่นเนื้อครั่นตัว
- ตรวจพบคอแดง ต่อมทอนซิลจะมีหนอง ลิ้นไก่บวม ต่อมน้ำเหลืองโต
ปอดบวมน้ำ
- ภาวะที่มีการคั่งของสารน้ำในถุงลมของเนื้อปอดทำให้ไม่สามารถ ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซได้ตามปกติ เกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
สาเหตุ - จากหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว ทำให้ไม่สามารถบีบไล่เลือดออกจากระบบไหลเวียนในปอดได้ทัน
- เกิดจากการบาดเจ็บต่อเนื้อปอดหรือระบบหลอดเลือดของปอด
ถุงลมโป่งพอง
- ปกติแล้ว พื้นที่ในปอดจะมีถุงลมเล็กๆ กระจายอยู่เต็มทั่วปอด เพื่อทำหน้าที่รับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย
- เป็นโรคที่เนื้อปอดค่อยๆ เสื่อมสมรรถภาพจากการได้รับควันบุหรี่
สารไนโตเจนไดออกไซด์ในควันบุหรี่จะทำลายเนื้อเยื่อในปอดและในถุงลมให้ฉีกขาดทีละน้อย และรวมตัวกลายเป็นถุงลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดโรคถุงลมโป่งพอง
หอดลมอักเสบเรื้อรัง
- เกิดจากการติดเชื้อเรื้อรัง ภูมิแพ้ ฝุ่นละอองและการสูบบุหรี่เป็นเวลานาน เยื่อบุหลอดลมจะหนา มี mucous secreting gland จำนวนมากขึ้น
- มีการหลั่งเมือ (เสมหะ) ออกมามากกว่าปกติ เป็นเหตุให้หลอดลมมีลักษณะตีบแคบลง ทำให้ลมหายใจเข้าออกได้ยากลำบากขึ้น
- โดยทั่วไปมักจะวินิจฉัยผู้ป่วยว่าเป็นหลอดลมอักเสบเรื้อรังต่อเมื่อผู้ป่วย
- มีอาการไอมีเสมหะติดต่อกันทุกวันนานกว่า 6 เดือนขึ้นไป หรือเป็นอยู่อยู๋น้อยปีละ 3 เดือน ติดต่อกัน 2 ปีขึ้นไป
หอบหืด
- ภาวะที่ทางเดินหายใจมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ มากเกินไป ทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลม มีเสมหะเพิ่มขึ้น
- มีการหายใจลำบากมากได้ยินเสียงวี๊ดเกิดขึ้น อาการเหล่านี้อาจหายได้เอง หรือสามารถกลับเป็นปกติได้ หรือหายเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
สาเหตุ 1.Extrinsic asthma
- เกิดจากการแพ้สารภายนอก เช่น ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ อาหารต่างๆ
- antigen เหล่านี้ จะกระตุ้นให้มีการสร้าง IgE มาเกาะติดที่ Mast cell เมื่อ Mast cell แตกออก จะหลั่งสารเคมีออกมาทำให้หลอดลมบวม หดเกร็ง และมีสารคัดหลั่ง
สาเหตุ 2.Intrinsic asthma - เกิดจากองค์ประกอบที่เป็นสาเหตุอยู่ภายในร่างกายปริมาณ IgE ไม่สูง
- มักเกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจ หรือสาเหตุอื่นๆ เช่น การออกกำบังกาย การสูบบุหรี่ อากาศเย็น อากาศเป็นพิษ และมีออกซิเจนในกระแสเลือดน้อย ขณะมีอาการหอบหืด หลอดลมจะมีขนาดตีบลง
ลมในเยื่อหุ้มปอด
Open pneumothorax ภาวะลมคั่งในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่มีบาดแผลเป็นแบบ sucking chest wound ทำให้ช่องเยื่อหุ้มปอดเปิดการติดต่อโดยตรงกับอากาศภายนอก
- ถ้าขนาดรูบาดแผลใหญ่ เป็น 2 ใน 3 ของขนาดหลอดลมผู้ป่วยจะมีอาการหายใจลำบาก และมีภาวะขาดออกซิเจนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
- ขณะหายใจเข้า อากาศจากภายนอกจะไหลผ่านเข้าสู๋ช่องเยื่อหุ้มปอดทางบาดแผล ตามแรงดันลบของช่องเยื่อหุ้มปอด
- ขณะหายใจออก จะมีอากาศถูกดันออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดเพียงเล็กน้อย ทำให้มีอากาศค้างเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่องเยื่อหุ้มปอดไปกดปอดด้านที่มีพยาธิสภาพให้แฟบ
Tension pneumothorax เกิดจากมีแผลฉีกขาดที่ผนังอกทะลุเข้าสู๋ช่องเยื่อหุ้มปอด โดยบาดแผลมีลักษณะเฉียงแฉลบหรือขอบแผลกระรุ่งกระริ่ง
- ปากแผลทำหน้าที่คล้ายลิ้นหรือประตูที่เป็น one way valve ทำให้ปอดแฟบ mediastinum เคลื่อนไปด้านตรงข้าม เลือดดำไหลหลับลดลงและกดปอดด้านตรงข้าม
- เวลาหายใจเข้าลมจะผ่านแผลรั่วเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดได้
- เวลาหายใจออกแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอดจะลดลง จะทำให้ปากแผลที่ทำหน้าที่ที่คล้ายลิ้นมีลักษณะเฉลียงแฉลบนี้ปิดช่องเยื่อหุ้มปอด ลมออกสู่ภายนอกไม่ได้
โรคของระบบทางเดินหายใจ
ไข้หวัด
- เป็นการติดเชื้อของจมูกและคอ บางครั้งเรียก Upper respiratory tract infection
- URI เกิดจากเชื้อไวรัส รวมเรียกว่า Coryza viruses ประกอบด้วย Rhino-viruses เป็นสำคัญ เชื้อชนิดอื่นๆ มี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus
- เมื่อเชื้อเข้าสู่จมูกและคอจะทำให้เยื่อจมูกบวม และแดง มีการหลั่งของเมือกออกมาแม้ว่าเป็นโรคที่หายเองใน 1 สัปดาห์
- exudate ที่เป็นน้ำมูกใส เรียก Catarrhal inflammation
- exudate ที่มีลักษณะข้นหรือเป็นหนอง เรียก Purulent inflammation
โรคริดสีดวงจมูก
- เกิดจากการที่เยื่อบุจมูกอักเสบ บวมขึ้นเรื่อยๆ มีน้ำคั่ง กลายเป็นก้อนในจมูก
- เป็นโรคที่ทำให้เกิดก้อนในจมูกมากที่สุด บางครั้งก้อนใหญ่จนออกมานอกจมูกลงมาในคอ จนอ้าปากก็เห็น
ปัจจัยที่ทำให้เกิด 1.การติดเชื้อที่จมูก 2.โรคภูมิแพ้
3.ภาวะอื่นๆ ได้แก่ ความผิดปกติของ mucoplysaccharide (เช่น cystic fibrosis), การแพ้ยา (เช่น Aspirin), การอุดตัน(mechanical obstruction)
กล่องเสียงอักเสบ
- เป็นภาวะที่เกิดจากการอักเสบของกล่องเสียง ซึ่งก่อให้เกิดความเจ็บปวด เสียงหาย หรือเสียงเปลี่ยนไปจากเดิมได้
สาเหตุ
- การติดไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรีย
- โรคภูมิแพ้
- การได้รับสารเคมี หรือสารพิษบางอย่าง เช่น ควันบุหรี่
- การใช้เสียงมากเกินไป เช่น คนที่ร้องเพลง หรือตะโกนดังๆ หรือใช้เสียงติดต่อกันเป็นเวลานาน
- การเกิดกรดไหลย้อนในกระเพาะอาหาร
ถุงลมแฟบ
- เป็นภาวะถุงลมแฟบโดยที่ไม่เคยขยายตัวเลย หรือเคยขยายตัวแล้วกลับแฟบลงภายหลัง
- ถ้าเกิดขึ้นกับเนื้อปอดปริมาณมากจะทำให้ขาดออกซิเจน
- ทำให้ติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ เช่น เสมหะ สิ่งแปลกปลอม
หลอดลมโป่งพอง
- ภาวะที่หลอดลมขนาดเล็กเกิดจากการพองตัวอย่างถาวร และเกิดการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผิวและผนังของหลอดลม ทำให้มีการติดเชื้ออักเสบได้ง่าย
- พบได้ในคนทุกวัย แต่พบมากในช่วงอายุ 20-40 ปี
สาเหตุ
- มักเกิดจากการติดเชื้อของปอด (ปอดอักเสบ, วัณโรคปอด, ไอกรน)
- การอุดกั้นของหลอดลม (เช่น มีสิ่งแปลกปลอมอยู๋ในหลอดลม มีก้อนเนื้องอกหรือมะเร็งมากดหลอดลม)
ปอดอักเสบ
- เป็นการอักเสบของเนื้อปอด มีการบวม หนองขัง เกิดจากอาการหายใจหอบ เหนื่อย อาจมีอันตรายถึงชีวิตได้
- สาเหตุจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต หรือ สิ่งแปลกปลอมการสูดดมสารเคมี หรือการสำลักเศษอาหารหรือน้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร
- Lobar pneumonia เป็นปอดบวมที่ปอดกลีบใดกลีบหนึ่ง มักเกิดจากเชื้อ Pneumococci
- Bronchopneumonia เป็นรอบๆ หลอดลมส่วนปลายและกระจัดกระจายไปมากกว่ากลีบใดกลีบหนึ่งของปอด
สาเหตุ
- พบมากกว่าร้อยละ 42
- เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรค ได้แก่ เรสไปราทอรี ซินไซเทียไวรัส พาราอินฟลูเอนซา อินฟลูเอนซา และอะดีโนไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรสไปราทอรี และซินไซเทียไวรัส มักเกิดมากในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี สูงถึงร้อยละ 90
- สาเหตุของโรคปอดบวมมากที่สุด ร้อยละ 60 โดยเฉพาะในเดฝ้กอายุน้อยกว่า 3 เดือน
- ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Streptococcus pneumoniae และเชื้อ enteric bacilli
- เด็กอายุ 3 เดือนถึง 5 ปี ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Streptococcus pnrumoniae และ เชื้อ Haemophilus influenza
วัณโรคปอด
- เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็น acid fast bacilli
- เชื้อในเสมหะกระจายโดยการหายใจ
- สามารถเกิดพยาธิสภาพกับอวัยวะทุกแห่งของร่างกาย M.bovis มักก่อให้เกิดโรคในสัตว์ซึ่งอาจ ติดต่อมาถึงคนได้โดยการบริโภคนมที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
Primary Pulmonary Tuberculosis - เกิดขึ้นในรายที่รับเชื้อวัณโรคในครั้งแรก
- ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด จะเกิดโรคด้วยทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต และมีเนื้อตาย caseous
- ตำแหน่งที่เชื้อเข้าไปสู่ทำให้เกิดรอยโรคครั้งแรกมักเป็นบริเวณเนื้อปอดที่อากาศถ่ายเทได้มากที่สุด ได้แก่ ส่วนล่างของกอดกลีบบนแบะส่วนบนของปอดกลีบล่าง
- ถ้าบริเวณเนื้อตายมีขนาดเล็ก ถูกกำจัดโดย macrophage รอบๆ และแทนที่ด้วย fibrous tissue
- ถ้าบริเวณเนื้อตายมีขนาดใหญ่ 0.5-2 ซ.ม. อาจสงบอยู่โดยมี fibrous tissue ล้อมรอบเป็นลักษณะ fibrocalcific แต่มักมีเชื้อโรคที่มีชีวิต เหลือค้างอย๋และอาจกำเริบภายหลังได้
Post Primary Pulmonary Tuberculosis
- การเกิดโรคหลังจากได้รับเชื้อมาก่อนส่วนใหญ่จะเกิดจากเชื้อที่สงบอยู่ในอวัยวะต่างๆ จากการแพร่กระกระจายครั้งแรก เกิดการแบ่งตัวเพิ่มขึ้น ส่วนน้อยเกิดจากการรับเชื้อเข้าไปใหม่
- รอยโรคที่เนื้อปอดมักเป็นบริเวณ Apex หรือ subapical ของปอดกลีบบนเนื่องจากบริเวณนี้มีความดันออกซิเจนสูง รอยโรคต่างจากพวก Primary Tuberculosis คือ มักไม่มีการกระจายไปหลอดน้ำเหลือง จึงไม่เห็นหลอดน้ำเหลืองที่ขั้วปอดโต
- ลักษณะของรอยโรคเป็น tubercle และ caseation
น้ำในเยื่อหุ้มปอด
- ภาวะน้ำในเยื่อหุ้มปอดเป็นการสะสมของเหลวระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดกับภายในช่องอก
มีอยู่ 2 ประเภท 1.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส มีสาเหตุเกิดจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง
2.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น มักเกิดจากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค มะเร็งปอด
ระบบหายใจ
- กระบวนการนำ ออกซิเจน จากบรรยากาศภายนอกเข้าสู๋ถุงลมปอด
- ออกซิเจน ส่วนใหญ่จะถูกขนส่งไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกายโดยจับกับโปรตีนฮีโมโมลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งจะแพร่เข้าสู่เซลล์ตามความต่างระดับความเข้มข้นและถูกนำมาใช้ในขบวนการเผาผลาญสารอาหาร เพื่อสร้างพลังงานให้ร่างกายใช้ในการทำกิจกรมมต่างๆ
โครงสร้าง
Conducting division ตั้งแต่ nasal cavity, pharynx, larynx, trachea, bronchi, bronchiole, terminal bronchiole
หน้าที่ 1.เป็นทางเดินของอากาศ
2.ให้ความชื้นแก่อากาศที่จะผ่านเข้าปอด
3.อุ่นอากาศที่จะผ่านเข้าสู่ปอด
4.ทำความสะอาด
-
Respiratory division ตั้งแต่ respiratory bronchiole, alveolar duct, alveolar sac, alveoli
-