Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Macrosomia - Coggle Diagram
Macrosomia
การวินิจฉัย (Diagnosis)
-
-
-
Parous woman
การประเมินน้ำหนักโดยมารดา ซึ่งใช้ในการประเมินน้ำหนักในครรภ์หลังๆ พบว่าสามารถทำนายน้ำหนักทารกในครรภ์ได้ดีพอ ๆ กับการอัลตราซาวด์หรือการคลำหน้าท้อง
คำจำกัดความ
ภาวะทารกตัวโต (macrosomia) คือทารกที่มีน้ำหนักตัวแรกเกิด มากกว่าหรือเท่ากับ 4,000 กรัมขึ้นไป
-
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการประเมินปัจจัยเสี่ยง
โดยเฉพาะการตรวจครรภ์ซึ่งสามารถประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะคลอดไหล่ยากได้จากขนาดหน้าท้องที่ไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์และการคาดคะเนน้ำหนักทารกแรกเกิด
โดยประเมินตามแบบคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะคลอดไหล่ยาก
-
ประวัติเคยคลอดทารกน้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 4,000 กรัม
-
-
น้ำหนักมารดาขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 20 กิโลกรัม ร่วมกับดัชนีมวลกายมากกว่า 30 kg/m2
-
-
ผลคาดคะเนน้ำหนักทารกในครรภ์ด้วย
อัลตร้าซาวน์มากกว่าหรือเท่ากับ 4,000 กรัม
ระยะหลังคลอด
ด้านมารดา
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกอ่อนล้า และการ หดรัดตัวของมดลูกไม่ดี การติดเชื้อ จากระยะเวลาการคลอดยาวนาน และหัตถการต่างๆ เพิ่มโอกาสของการติดเชื้อที่โพรงมดลูกช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บมากขึ้น
ประเมินสัญญาณชีพประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ระดับยอดมดลูกกระเพาะปัสสาวะ เลือดที่ออกจากโพรงมดลูก แผลฝีเย็บและช่องทางคลอด
ด้านทารก
ทารกแรกเกิดมักมีภาวะขาดออกซิเจน เนื่องจากใช้ระยะเวลานานในการคลอดควรรีบประเมินสีผิว การหายใจ และการร้องตั้งแต่แรกคลอด ไม่ต้องรอให้ครบ 1 นาทีเพราะหากรอประเมิน apgar’score ทารกแรกเกิดอาจ
เสียชีวิตได้ พร้อมกับให้การช่วยเหลือทันที
ควรตรวจร่างกายทารกแรกเกิดอย่างคร่าวๆโดยเฉพาะบริเวณไหล่ จากนั้นควรย้ายทารกแรกเกิดไปแผนกทารกแรกเกิด เพื่อตรวจร่างกายอย่างละเอียด
-
ระยะคลอด
ประเมินผู้คลอด ด้วยการตรวจครรภ์ ตรวจประเมินลักษณะเชิงกราน และช่องทางคลอด โดยเฉพาะช่องทางเข้าเชิงกราน (Pelvic inlet) ช่องเชิงกรานส่วนกลาง(mid-pelvis/ pelvic cavity) และช่องทางออกเชิงกราน(pelvic outlet)
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการคลอด ความเสี่ยงแนวทางการรักษาพยาบาล และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระยะคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอดประเมินความก้าวหน้าของ
การคลอดด้วยกราฟความก้าวหน้าของการคลอด(partoghaph) พร้อมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการคลอด ความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน และแนวทางการรักษาพยาบาลให้ผู้คลอดทราบเป็นระยะ
ผลกระทบ
ด้านมารดา
-
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดได้มากกว่าปกติเนื่องจากการทำหัตถการแล้วทำให้ช่องทางคลอดฉีกขาดหรือจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ภายหลังการคลอด
ที่ยาวนาน
อาจเกิดการติดเชื้อได้ง่าย เนื่องจากการทำหัตถการช่วยคลอด ระยะเวลาการคลอดยาวนาน และการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ด้านทารก
Brachial plexus injuries เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยเนื่องจากมีการดึงหรือกดศีรษะทารกลงด้านข้างมากกว่าปกติทำให้เส้นประสาท brachial plexus ถูกยืด
จนบางครั้งอาจถึงขาดได้
-
-
-
-