Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 อุปสงค์ อุปทาน นางสาวพรรณวิภา วงค์ตาพรม เลขที่ 30B - Coggle…
บทที่ 5 อุปสงค์ อุปทาน
นางสาวพรรณวิภา วงค์ตาพรม เลขที่ 30B
Demand คือ อุปสงค์ หมายถึง จำนวณสินค้าเเละบริการที่ผู้ซื้อต้องการซื้อ ระดับต่างราคา ระดับรายได้ต่างๆ ระดับสินค้าที่เกี่ยวข้อง
Supply คือ อุปทาน หมายถึง ปริมาณเสนอขสายงานบริการชนิดใดชนิหนึ่งที่ผู้ผลิตต้องการเสนอขาย ซึ่งผันเเปรโดยตรงตามราคาของบริการนั้น
อุปสงค์ต่อสุขภาพ
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล
กฎของอุปทาน ถ้าราคาสินค้าเเละบริการสูงขึ้นปริมาณเสนอขายสินค้าจะเพิ่มขึ้น
ประเภทของสินค้าเเละบริการ
สินค้าเเละบริการที่ใช้ทดเเทนกันได้ เช่น ยาบางชนิด จะมีความไวในการเปลี่ยนเเปลงราคา
สินค้าเเละบริการที่ใช้ประกอบกัน เช่น น้ำตาลกับผงกาเเฟกับผงกาเเฟ จะมีความไวในการเปลี่ยนเเปลงราคา
สินค้าเเละบริการปกติ ผู้รับบริการจะซื้อเพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้สูง เเละจะมีความไวในการเปลี่ยนเเปลงราคา
สินค้าเเละบริการด้อยคุณภาพ ผู้รับบริการจะซื้อสินค้าเเละบริการลดน้อยลงจึงมีความสัมพันธ์ผกผันหรือในทางตรงข้ามกัน
ปัจจัยที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนเเปลง
1.ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่นพาราเซตามอล ยาเเอสไพริน จะลดลงด้วย
2.รายได้ หากเป็นสินค้าปกติเมื่อรายได้สูงขึ้นความต้องการสินค้าย่อมสูง
การเปลี่ยนเเปลงของเส้นอุปสงค์ด้านสุขภาพ
1.ภาวะความเจ็บป่วย
2.เพศ อายุ การออม งบประมาณรัฐ การกระจายรายได้
3.ความเชื่อ ทัศนคติต่อการรักษาพยาบาลเเละบริการสุขภาพ
4.ข้อเเนะนำจากบุคลากรทางการเเพทย์
5.คุณภาพการรักษาพยาบาล
6.ราคายา ราคา บริการ
7.จำนวนสถานพยาบาลสาธารณสุข
8.จำนวนผู้ใช้บริการ
9.การประกันสุขภาพ การประกันสังคม
10.จำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ
11.การเข้าถึง รสนิยมผู้รับบริการ
ราคาดุลยภาพ จุดดุลยภาพของตลาดเกิดขึ้นจากการที่เส้นอุปสงค์ อุปทาน ของสินค้าเเละบริการตลาดตัดกันเเละก่อให้เกิดราคาดุลยภาพ จุด(E)
อุปสงค์ส่วนเกิน คือ ถ้าสินค้าใดเป็นที่ต้องการมาก จะทำให้ราคาสินค้าและบริการสูง ส่งผลให้สินค้าและบริการขาดตลาด
อุปทานส่วนเกิน คือ ถ้าสินค้าใดเป็นที่ต้องการน้อยจะทำให้การบริโภคสินค้าและบริการต่ำ ส่งผลให้สินค้าและบริการล้นตลาด
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economics Cost) หมายถึง ต้นทุนทุกอย่างที่เกิดขึ้นในการผลิต ไม่ว่าจะจ่ายออกไปจริงหรือไม่ก็ตาม ด้วยเหตุนี้ ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จึงสูงกว่าต้นทุนทางบัญชี ทำให้กำไรทางเศรษฐศาสตร์น้อยกว่ากำไรทางบัญชี
ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือมูลค่าของผลตอบแทนจากกิจกรรมที่สูญเสียโอกาสไปในการเลือกทำกิจกรรมอย่างหนึ่ง
ต้นทุนการบริการด้านสุขภาพ จากการเปลี่ยนเเปลงระบบการเงินโรงพยาบาล ระะบบการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากผู็รับบริการโดยตรง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุนบริการสุขภาพ
การกำหนดหน่วยต้นทุน
2.การหาต้นทุนรวมทางตรง
3.การหาต้นทุนรวมทางอ้อม
4.การหาต้นทุนทั้งหมด
5.การหาต้นทุนต่อหน่วย