Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินหายใจ, อาการ คล้ายหวัดแต่รุนแรงกว่า …
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน
Upper respiratory Infection
หวัด
เชื้อ rinoviruses
อาการ -ไข้สูงมาก อาจสูง40องศา
-มีน้ำมูก คัดจมูก
-ไอ เจ็บคอ
การพยาบาล
ไข้ >>เช็ดตัวลดไข้ ถ้าไม่ดีขึ้นให้ paracetamol
ไอ เจ็บคอ >> ให้ดื่มน้ำอุ่น และสอนการไออย่ามีประสิทธิภาพ
การหายใจเข้าออกลึกๆช้าๆ หายใจเข้านับ1-5 หายใจออกนับ1-7 ทำซ้ำ2-3ครั้ง
มีน้ำมูก คัดจมูก >> ให้ล้างจมูกใช้0.9%NSS นำปลายกระบอกฉีดยาใส่น้ำ เริ่มล้างข้างที่มีอาการคัดจมูก ดันกระบอกฉีดยาเบาๆให้น้ำไหลช้าๆ แล้วน้ำที่ล้างจมูกจะไหลออกมา. ทำให้โพรงจมูกโล่ง
ข้อวินิจฉัย 1.เสี่ยงต่อการชักเนื่องจากมีไข้สูง
2.เสี่ยงต่อการอุดกั้นทางเดินหายใจเนื่องจากติดเชื้อหรือภาวะขาดน้ำ
พยาธิสภาพ
rinoviruses ติดต่อผ่านการสัมผัส ตัวเชื้อจะจับกับ ICAM-1 receptor
แล้วกระตุ้นการปล่อยสารตัวกลางอักเสบ
ภาวะเเทรกซ้อน 1หลอดลมอักเสบ
2 ปอดอักเสบ
ไซนัสอักเสบ
เชื้อแบคทีเรีย pneumococcus pneumoniae
และ Hemophilus infunza
อาการแทรกซ้อน เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
มีฝีที่ Epidural หรือ subdural
มีการอักเสบ cellulitis รอบเข้าตา
พยาธิสภาพ เกิดจากการอุดกั้นของรู้ปิดระหว่างจมูกและไซนัส
ทำให้มีการคั่งของสารคัดหลั่งภายในไซนัส ทำให้กลไกการ
การพัดโบกของขนกวัดผิดปกติ หรือร่างกายไม่สามารถ
สร้างสารคัดหลั่งของไซนัสได้
คออักเส pharyngitis
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส
rhinovirus adenovirus
เชื้อจะอยู่ในน้ำลายและเสมหะ
ติดต่อกันโดยการไอ จาม การสัมผัส
อาการ ไข้สูงนาน1-4วัน
เจ็บคอ กลืนลำบาก
ตรวจร่างกาย
พบคอแดง ต่อมทอนซิลโต มีจุดหนอง
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะชักเนื่องจากมีไข้สูง
เสี่ยงต่อการสำลักเนื่องจากกลืนลำบาก
การพยาบาล
ไข้สูง >> เช็ดตัวลดไข้ และให้ paracetamol
เจ็บคอ >>อมยาบรรเทาอาการเจ็บคอ กลั้วคอด้วยน้ำเกลือวันละ
2-3 ครั้ง รับประทานอาการอ่อนๆ เช่นข้าวต้ม โจ๊ก นม
พยาธิสภาพ บริเวณที่เป็นคออักเสบจะอยู่ระหว่างหลังโพรงจมูกกับกล่องเสียง เมื่อเชื้อเข้ามาจะมีการแบ่งจำนวนเชื้อและทำลายเซลล์จนเกิดการอักเสบ
ทอนซิลอักเสบ Tonsillitis
ติดเชื้อไวรัส เกิดการอักเสบของทอนซิล
พยาธิสภาพ ภาวะอักเสบของเนื้อเย่อในลำคอที่อยู่บริเวณหลังช่องปากเข้าไป เกิดจากการติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อน
เชื้อเข้าสู่กระแสเลือดกระจายไปส่วนต่างๆ อาจทำให้เกินเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การมีปฏิกิริยาต้านทานเนื้อเยื่อตนเอง อาจทำให้เกิดไข้รูมาติก หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน
อาการ เจ็บคอ บวมที่คอ
ตรวจร่างกาย
พบคอแดง ต่อมทอนซิลโตมีจุดหนอง
การพยาบาล
เจ็บคอ >> กลั้วคอด้วยน้ำเกลือวันละ2-3ครั้ง
รัปประทานอาหารอ่อนๆ เช่น ข้ามต้ม โจ๊ก นม
*
ในรายที่เป็นเรื้อรัง อาจจะต้องทำการป่าตัดทอนซิล
ครู๊ป Croup
เขื้อไวรัส parainfluenzaพบในเด็กอายุ 6เดือน - 3ปี
อาการ ไข้ต่ำๆ เสียงแหบ
หายใจลำบาก มีเสียง strider
ตรวจร่างกาย
มีคอแดง epiglottis แดง
การรักษา
พ่นยาฝอยละออง adrenaline
ให้ยา steroid พ่นหรือฉีด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Pressurized metered-dose inhaler
เป็นการบริหารยาชนิดฝอยละออง เช่น ยาขยายหลอดลม และยาcorticosteroid
การพยาบาล
กรณีติดเชื้อซ้ำซ้อน ควรให้ยาปฏิชีวนะ
ถ้ารุนแรงมาก หายใจหอบ เขียว ควรใส่ท่อชาวยหายใจทันที
มีการบวมของกล่องเสียง พ่นยาด้วย isoprotrnol
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ทำให้มีการอักเสบ บวม ของกล่องเสียงหลอดลม ทำให้อุดกั้นทางเดินหายใจเฉียบพลัน
อาการแทรกซ้อน
ขาดน้ำ หลอดคออักเสบ ปอดบวม
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง
Lower respiratory Infection
โรคปอดอักเสบ
เชื้อแบคทีเรีย streptococcus
พยาธิสภา
เชื้อโรคเข้าสู่อดและทำให้เกิดการอักเสบของถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ
อาการ ไข้สูง ไอแห้ง มีเสมหะ
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะชักเนื่องจากไข้สูง
เสี่ยงต่อการหายใจลำบากเนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น
การพยาบาล
ไข้สูง >> เช็ดตัวลดไข้ และให้ยาลดไข้ paracetamol
ไอแห้ง >> ดื่มน้ำอุ่น สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ หายใจเข้าออกลึกๆช้าๆ หายใจเข้านับ1-5 หายใจออกนับ1-7 ทำซ้ำ2-3ครั้ง
จัดท่าระบายเสมหะ เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งขึ้น
*
ข้อห้ามการจัดท่าระบายเสมหะ
-ผู้ป่วยที่มีความดันกะโหลกศีรษะสูง
-บาดเจ็บที่ศีรษะ คอ กระดูกสันหลัง
หลังการผ่าตัดเกี่ยวกับตา
วิธีการจัดท่าระบายเสมหะ
ระบายเสมหะยอดปอดทั้ง2ข้าง ให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง หรือพิงไปทางดวนหลังประมาน30-45องศา
2.ระบายเสมหะส่วนด้านหลังของปอดให้นั่งตัวตรงหรือโน้มตัวไปทางด้านหน้า ประมาณ30-40 องศา
3.ระบายเสมหะส่วนด้านหน้า ให้ผู้ป่วยนอนราบ
4.ระบายเสมหะปอดส่วนบนด้านหลัง. ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงไปด้านซ้ายหรือขวากึ่งคว่ำ
5.ระบายเสมหะของปอดส่วนกลางทั้ง2ข้าง ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงไปด้านซ้ายหรือขวากึ่งหงาย
6.ระบายเสมหะปอดส่วนล่างทั้ง2ข้าง ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงไปด้านซ้ายหรือด้านขวา
การจัดท่าระบายเสมหะ
-จัดท่าเพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้เสมหะเคลื่อนออกจากหลอดลมเล็ก ออกมายังหลอดลมใหญ่เมื่อไอจะทำให้เสมหะขับออกมาได้มากขึ้น
-ระยะเวลาในการจัดท่า 15-30นาที\ท่า รถยะเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณของเสมหะและสภาพผู้ป่วย
หอบหืด
พันธุกรรม เด็กที่มีประวัติครอบครัวเป็นภูมิแพ้
พยาธิสภาพ
เกิดการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมทำให้เยื่อบุและผนังหลอดลมตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นจากภายในและสิ่งแวดล้อมมากกว่าปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดน้ำ ปอดแฟบ หมดแรง
อาการ
หลอดลมบวม หอบเหนื่อย
แน่นน่าอก
ข้อวินิจฉัย
-มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดิรหายใจ
-มีภาวะเสี่ยงต่อระบบหายใจล้มเหลว
การพยาบาล
1.จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 30 องศา
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนในขนาดสูง ให้ทาง Nasal cannula
3.ช่วยระบายเสมหะ บำบัดทรวงอกจัดท่าระบายเสมหะ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ
Nasal cannula ใช้สำหรับอัตราการไหลของออกซิเจน 1-6 ลิตร\นาที ความเข็มข้นของออกซิเจนที่ได้รับ 1L/mom =24%
หลอดลมฝอยอักเสบ
เชื้อไวรัส
respiratory Syncytial virus RSV
พยาธิสภาพ หลังได้รับเชื้อ ทำให้มีการลำลายซิเลียและเยื่อบุผนังของหลอดลมฝอยเกิดการบวม หนาตัวขึ้น เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจขณะหายใจออกทำให้มีลมค้างในถุงลมปอด
ภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดภาวะขาดน้ำ ปอดอักเสบ
ปอดแฟบจากการอุดกั้นของหลอดลม
อาการ มีน้ำมูกใส ไอ หายใจเร็ว อกบุ๋ม
หายใจมีเสียงwheezing
ข้อวินิจฉัย
1.อุณหภูมิร่างกายสูงเนื่องจากมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
2.การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากหลิดลมมีการอักเสบและมีการคั่งค้างของเสมหะ
3.มีการระคายเคืองทางเดินหายใจเนื่องจากมีการอักเสบของหลอดลม
การพยาบาล
-ประเมินสัญญาณชีพ
-ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ทำ chest physiotherapy และจัดท่าเพื่อระบายเสมหะ
-ดูแลให้สารน้ำอละสารอาหารให้เพี่ยงพอ
-ให้ยา Corticosteroids ยาขยายหลอดลม
อาการ คล้ายหวัดแต่รุนแรงกว่า
ปวดและเจ็บบริเวรศีรษะและใบหน้า
รักษา
รักษาประคับประคองตามอาการ
• มีอาการปวดให้ยาแก้ปวด
•ให้ decongestant ช่วยลด
การบวมเยื่อจมูก ครั้งคราว