Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
โรคระบบทางเดินหายใจ
-
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
-
-
Sinus หรือโพรงอากาศข้างจมูก เป็นกลุ่มของช่องอากาศในกะโหลกศีรษะและใบหน้าอยู่โดยรอบจมูก และมีทางติดต่อกับช่องจมูก
-
-
สาเหตุ
-
การติดเชื้อของฟัน โดยเฉพาะฟันกรามน้อยและฟันกรามแถวบน พบว่า ประมาณร้อยละ 10 ของการอักเสบของ Maxillary sinusสาเหตุจากฟันผุ (เพราะผนังด้านล่างของMaxillary sinus จะติดกับรากฟัน) บางรายแสดงอาการชัดเจนภายหลังที่ไปถอนฟันแล้วเกิดรูทะลุระหว่างMaxillary sinus และเหงือกขึ้น
-
การว่ายน้ำ ดำน้ำเกิดการสำลักน้ำเข้าไปในจมูกและในไซนัสได้ อาจมีเชื้อโรคเข้าไปด้วย ทำให้เกิดการอักเสบได้ สารคลอรีน ในสระว่ายน้ำเป็นสารเคมีที่ทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุไซนัสได้
การกระทบกระแทกอย่างแรงบริเวณใบหน้า ทำให้ไซนัสโพรงอันใดโพรงหนึ่งแตกหัก ช้าบวมหรือมีเลือดออกภายในโพรง ทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อได้
มีสิ่งแปลกปลอมในจมูกเช่น เมล็ดผลไม้ก่อการอุดตันโพรงจมูกเป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อทั้งในโพรงจมูกและในไซนัส
-
ไข้หวัด(Common cold)
URI เกิดจากเชื้อไวรัสรวมเรียกว่า Coryzaviruses ประกอบด้วย Rhino-viruses เป็นสำคัญ เชื้อชนิดอื่นๆมี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus
เชื้อเข้าสู่จมูกและคอจะทำให้เยื่อจมูกบวม และแดง มีการหลั่งของเมือกออกมาแม้ว่าจะเป็นโรคที่หายเองใน 1สัปดาห์
-
-
-
-
ปอด
-
-
ช่องเปิดแคบประกอบด้วยซี่โครงบนของกระดูกสันอกและกระดูกสันหลัง ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม
ระหว่างปอด 2 ข้าง พบว่ามีหัวใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้ายเล็กน้อย และมีอยู่ 3 กลีบ ส่วนข้างซ้ายมี 2 กลีบ
-
ปอดอักเสบ (Pneumonia)
-
-
-
-
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
-
เชื้อไวรัสที่ทาให้เกิดโรค ได้แก่ เรสไปราทอรี ซินไซเทียไวรัส (respiratory syncytial virus) พาราอินฟลูเอนซา(parainfluenza) อินฟลูเอนซา (influenza) และอะดีโนไวรัส (adenovirus) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรสไปราทอรี และซินไซเทียไวรัส มักเกิดมากในเด็กอายุต่ำกว่า 1ปี สูงถึงร้อยละ 90
-
-
ปอดบวมจากสาเหตุอื่นเช่น ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีจนทำให้เกิดอาการปอดบวมจากรังสี (radiation pneumonia)
-
ระบบหายใจ
หน้าที่
-
การหายใจเข้า O2 จะแพร่ผ่านผนังถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอยที่ปอดและ CO2 จากหลอดเลือดฝอยที่ปอดจะแพร่เข้าสู่ถุงลมและกลับออกสู่บรรยากาศภายนอกพร้อมการหายใจออก
O2 ส่วนใหญ่จะถูกขนส่งไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกายโดยจับกับโปรตีนฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งจะแพร่เข้าสู่เซลล์ตามความต่างระดับความเข้มข้นและถูกนำไปใช้ในขบวนการเผาผลาญสารอาหาร (metabolism) เพื่อสร้างพลังงานให้ร่างกายใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ
โครงสร้างระบบหายใจ
- conducting division ตั้งแต่ nasal cavity,pharynx, larynx, trachea, bronchi, bronchiole, terminal bronchiole
- Respiratorydivision ตั้งแต่ respiratory bronchiole,alveolar duct, alveolar sac, alveoli
-
-
คออักเสบ (Pharyngitis)
-
มีเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ส่วนใหญ่ได้แก่ Beta Streptococcus group A เยื่อบุ pharynx จะอักเสบมากขึ้นและถูกคลุมด้วย exudate
-
-
-
หอบหืด(Bronchial Asthma)
สาเหตุ
Extrinsic asthma
-
antigen เหล่านี้ จะกระตุ้นให้มีการสร้าง IgE มาเกาะติดที่ Mast cell เมื่อ Mast cell แตกออก จะหลั่งสารเคมีออกมา ทาให้หลอดลมบวม หดเกร็ง และมีสารคัดหลั่ง (Secretion)
-
-
-
มีอาการหายใจลำบากมาก ได้ยินเสียงวี๊ดเกิดขึ้น (Wheezing and severe dyspnea) อาการเหล่านี้อาจหายได้เอง หรือสามารถกลับเป็นปกติได้
-
-
ถุงลมโป่งพอง(Emphysema)
-
สารไนโตรเจนไดออกไซด์ในควันบุหรี่จะทาลายเนื้อเยื่อในปอดและในถุงลมให้ฉีกขาดทีละน้อย และ รวมตัวกลายเป็นถุงลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดโรคถุงลมโป่งพอง
ทำให้พื้นที่ผิวเนื้อเยื่อภายในปอด ซึ่งเป็นที่รับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายมีขนาดเล็กลง จึงต้องหายใจเร็วขึ้น
-
-