Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
Simple febrile seizure
ชักทั้งตัว มีไข้ร่วมด้วย
complex febrile seizure
ชักเฉพาะที่ ชักซ้ำซ้อน
สาเหตุการเกิด
ไข้สูงเกิดจากการติดเชื้อในระบบ
ร่างกายมีอุณภูมิสูงกว่า39องศาเซลเซียส
อาการและอาการแสดง
ตัวร้อน
หน้าแดง
มึนงงสับสน
กระสับกระส่าย
ชักเกร็งหรือกระตุก
อุจจาระราด
การรักษา
ระยะกำลังชัก
ชักเกิน 5 นาที ต้องใช้ยาระงับอาการชัก เช่น diazepam
ใช้ยาลดไข้ ร่วมกับเช็ดตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกาย
ใช้ยาป้องกันการชัก เช่น Phennobarbital Depakine
การพยาบาล
วัดสัญญาณชีพจรทุก 4 ชั่วโมง
เช็ดตัวลดไข้นาน 10-15 นาที
จัดท่านอนตะแคงศรีษะต่ำกว่าลำตัว
ถ้ามีเสมหะให้ดูดเสมหะออก
โรคลมชัก (Epilepsy)
เกิดอย่างน้อย 2 ครั้ง
ไม่สัมพันธ์กับการมีไข้
ถ้าชักเกิน 10 นาที ยังไม่ได้รับการรักษา อาจจะกลายเป็นภาวะชักต่อเนื่อง (Statusepilepticus)
ชนิดอาการชัก
Generalized seizure
เกร็งแข็ง Tonic seizre
กระตุกเป็นจังหวะ Clonic seizre
มีการเกร็งก่อนแล้วมีการกระตุกตาม Tonic Clonic seizre (Grand mal)
สูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อ Atonic seizure
มีการหดตัวกล้ามเนื้อเป็นระยะ Myoclonic seizure
ตากระพริบตาและตากระตุก Absence seizure
งอศรีษะ ลำตัว แขนเข้าหาแล้วคลายออกคล้ายสะดุ้ง Infantile spam
Partial seizure ชักเฉพาะที่
กระตุกหรือชาของแขน ขา ประมาณ 5-10 นาที Simple partial seizure
ชักที่มีอาการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม Complex partial seizure
ความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่แล้วกระจาย Partial seizure evolving to secondary deneralize seizure
Unclassified epileptic seizure
เป็นชนิดที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
สาเหตุการชัก
มีรอยโรคในเนื้อสมอง
ทำให้เซลล์ประสาทคลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจคลื่นไฟฟ้า
เพื่อวินิจฉัยในการจำแนกชนิดของโรคลมชัก
การรักษา
ให้ Diazepam 0.2-0.4 ทางหลอดเลือดดำ
จับชีพจรและวัดความดันโลหิต
หลังจากให้ยา 20-30 นาที
ยากันชัก
Benzodiazepine ได้แก่ diazepam
ทำให้ง่วง เดินเซ มีเสมหะ
Phenobarbital
ทำให้ง่วงซึม เดินเซ
Phenytoin (dilantin)
เดินอาการเซ เห็นภาพซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน
Valproic acid
ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน มือสั่น
วินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
เนื่องจากชักเป็นเวลานาน
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการชักของผู้ป่วยเด็ก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepite meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal meningitis)
อาการและอาการแสดง
มีไข้
ปวดศรีษะมาก
ซึมลง
กระหม่อมโป่งตึง
คอแข็ง
Kernig's sing ได้ผลบวก
Brudzinski sign ได้ผลบวก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลัง
ให้ยาลดอาการบวมสมอง
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
Primary viral encephalitis ไวรัสที่นำโดยแมลง
Secondaryviral encephalitis ไวรัสหัดเยอรมัน อีสุอีใส ไวรัสคางทูม
อาการและอาการแสดง
ทำให้เกิดภาวะสมองบวม
สมองสูญเสียหน้าที่
ไข้สูง
ปวดศรีษะ
บางรายมีอาการชัก
การวินิจฉัย
ตรวจน้ำไขสันหลัง
พบว่าน้ำไขสันหลังใส ไม่มีสี มีเม็ดเลือดขาว 10-1000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
การรักษา
ให้ยากันชัก
เช่น Phenobetbital ยาลดอาการบวม
ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ เพื่อรักษาภาวะติดเชื้อแทรกซ้อน
วินิจฉัยการพยาบาล
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมอง
เนื่องจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เนื่องจากภาวะความดันในสมองสูง
อาจเกิดอันตรายจากการชัก
เนื่องจากไข้สูง
โรคสมองพิการ (Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอดมารดาช่วงการตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9
มารดามีภาวะชักหรือภาวะปัญญาอ่อน
ระยะคลอด
ร้อยละ 30 ได้แก่ สมองขาดออกซิเจน
ได้รับอันตรายจากการคลอด
คลอดยาก รกพันคอ
ระยะหลังคลอด
สมองพิการร้อยละ 5 ได้แก่การไก้รับการกระทบกระเทือนศรีษะ
ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด
เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มเกร็ง (Spastic)
กล้ามเนื้อเกร็ง เคลื่อนไหวได้ช้า
มีความผิดปกติครึ่งซีกหรือผิดปกติทั้งตัว
ทำให้ควบคุมกล้ามเนื้อไม่ได้
กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ (Dystonia)
ไม่สามรถควบคุมให้อยู่นิ่งๆได้
มีการแสดงสีหน้า
คอบิด แขนงอ พูดลำบาก กลืนลำบาก
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
ได้แก่ diazepam baclofen
ทำกายภาพบำบัด
แก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การเคลื่อนไหวของร่างกายบกพร่อง
เนื่องจากมีความบกพร่องของระบบประสาท
ขาดการดูแลตัวเอง
เนื่องจากความบกพร่องทางด้านร่างกาย
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากปัญหาการให้อาหารบกพร่อง
บกพร่องในการสื่อสารด้วยวาจา
เนื่องจากสูญเสียการได้ยิน/ระบบประสาทบกพร่อง
เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย
เนื่องจากบกพร่องของระบบประสาท
Guillain Barre's Syndrome
เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน
อาการ
Sensation
มีอาการเหน็บชา
เจ็บและปวด โดยเฉพาะปลายแขน ปลายขา ปลายขา ไหล่
สูญเสีย reflex
Motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เดินลำบาก
เมื่อมีการลุกลามไปที่กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจทำให้หายใจล้มเหลว
อาการของประสาทสมอง
โดยเฉพาะส่วนใบหน้าประสาทสมองคู่ที่ 7
มีอัมพาตของใบหน้า ตาปิด ปากปิดไม่สนิท
อาการกลืน พูด และหายใจลำบากเส้นประสาทคู่ที่ 10
การรักษา
รักษาด้วยการเปลี่ยนแปลงถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin
การวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอ
เนื่องจากกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจอ่อนแรงเฉียบพลัน
ทุกข์ทรมานจากการอาการปวดกล้ามเนื้อ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว
ทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตัวเอง
หลักการพยาบาล
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหวกำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
เนื่องจากผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลง
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดี
กลุ่มอาการดาวน์ (Down's syndrome)
มีความปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
มารดามีอายุมากกว่า 30 ปีและสูงขึ้นชัดเจนมากกว่า 35 ปี
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวแบนกว้าง
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออกและมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น
เส้นลายนิ้วมือมักพบ Ulnar loop มากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
การรักษา
รักษาโรคทางกายอื่นๆร่วมด้วย
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
สไปนา ไบฟิดา (Spina Bifida)
เป็นความผิดปกติของท่อระบบประสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์
ทำให้รอยต่อกระดูกไม่เชื่อมกัน
ชนิด
Spina bifida occulta
Meningocele
Myelomeningocele
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
แต่อาจเกิดจากมารดามีการติดเชื้อไวรัสในขณะตั้งครรภ์ระยะ 3 เดือนแรก
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
ตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ Alphafetoprotien ในน้ำคร่ำสูง
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้นระวังไม่ให้เกิดแผล
ประเมินการติดเชื้อ
วัดสัญญาณชีพจร 2-4 ชั่วโมง
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
บริหารแขน ขา เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
ภาวะน้ำคลั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศรีษะโต (cranium enlargement)
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิด
พบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศรีษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้า
เสียงเคาะกระโหลกเหมือนหม้อแตก
ตาพล่ามัวเห็นภาพซ้อน
การวินิจฉัย
Transillumination test การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
VP Shunt
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ปัญหาอาจเกิดความดันในกระโหลกศรีษะสูงจากการคั่งค้างของน้ำไขสันหลัง
การพยาบาล
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศรีษะสูง
วัดเส้นรอบวงศรีษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศรีษะสูง 15-30 องศา
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศรีษะ
การพยาบาล
จัดให้นอนบนที่นุ่มๆใช้หมอนหนุนรองศรีษะไหล่ เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดผิวหนัง
การพยาบาลระยะหลังผ่าตัดทางเดินของท่อไขสันหลัง
จัดท่านอนเพื่อป้องกันการกดทับลิ้นของท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
สังเกตและบันทึกอาการของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
วัดและบันทึกสัญญาณชีพและประเมินอาการทางระบบประสาท
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง
ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดตามแผนการรักษา