Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดสมองและกะโหลกศีรษะ - Coggle Diagram
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดสมองและกะโหลกศีรษะ
1.การติดเชื้อ
แบ่งเป็น
Deep incisional SSI
การติดเชื้อเกิดขึนภายใน 30-90 วันหลังผ่าตัด
organ / space SSI
การติดเชื้อเกิดขึนภายใน 30-90 วันหลังผ่าตัด
Superficicial incisional SSI
การติดเชื้อเกิดขึนภายใน 30 วันหลังผ่าตัด
สาเหตุ
เกิดจากการที่มีเปิดของกระโหลกศรีษะ
แบ่งเป็น 2 กรณีคือ
การเปิดขณะการผ่าตัด
การเปิดของกะโหลกศีรษะเนื่องจากการบาดเจ็บ ส่งผลให้เกิดช่องเปิดระหว่างภายในกระโหลกศีรษะกับโพรงหรือภายนอกศรีษะ
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวด บวม กดเจ็บบริเวณแผลผ่าตัด
แผลผ่าตัดแดง
ตรวจพบเชื้อโรคจากของเหลวหรือเนื้อเยื่อบริเวณแผลผ่าตัด
ตรวจพบเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มสูงขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
การเกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การเกิดภาวะเนื้อสมองอักเสบและติดเชื้อ
คือ
การเกิดภาวะติดเชื้อหลังการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายมากเนื่องจากมีโอกาสเกิดขึ้นได้สูงและก่อให้เกิดผลเสียที่รุนแรงโดยเฉพากับการทำงานของระบบประสาทและสมอง
ภาวะความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มสูง (increasedintracranialpressure : IICP)
คือ
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบบ่อยในผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่สมอง
และเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตหรือภาวะทุพลภาพ สาเหตุเกิดจากการเพิ่มปริมาตรภายในกะโหลกศีรษะทั้งในส่วนของเนื้อสมอง ระบบไหลเวียนเลือด และน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง การเพิ่มปริมาตร ดังกล่าวนั้นเกินขีดความสามารถในการรักษาความสมดุลภายในสมอง ส่งผลให้เกิดภาวะ ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
สาเหตุ
มีการเพิ่มปริมาณเลือดในสมอง
มีการอุดกั้นของหลอดเลือดดำในสมอง
มีการขยายของหลอดเลือดดำ
การผลิตน้ำหล่อสมองไขสันหลังเพิ่มขึ้นหรือการดูดซึมกลับของน้ำหล่อสมองไขสันหลังลดลง
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำจากการอุดกั้นของเส้นทางน้ำหล่อสมองไขสันหลัง
(obstructive hydrocephalus)
พยาธิสภาพที่ทำให้ปริมาตรเนื้อสมองในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
ภาวะสมองบวม
Vasogenic edema เกิดขึ้นในกรณีที่มีการทำลายโครงสร้างและหน้าที่ของ blood-brain barrier
ทำให้ของเหลวภายในเลือดรั่วเข้าไปอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space)
Cytotoxic edema เป็นการบวมของสมองที่เกิดจากการสะสมของเหลวภายในเซลล์
(intracellular accumulation) มักเกิดในกรณีที่มีการบาดเจ็บของเซลล์ (cellular injury)
การขาดเลือดหรือออกซิเจนของสมอง (generalized hypoxic/ ischemic injury)
ปัจจัยเสริม
ภาวะเครียด
การเกร็งของกล้ามเนื้อ
การดูดเสมหะ การให้เครื่องช่วยหายใจ
นอนศีรษะต่ำ
มีไข้สูง มีอาการชัก
ภาวะ Hypoxemia
ภาวะ Hypercapnia
ได้รับยาขยายหลอดลม
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย
ตามัว
ปวดศีรษะ
อาเจียน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ง่วงซึม
ภาวะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน
คือ
ภาวะที่สมองได้รับออกซิเจนจากเลือดมาสู่สมองไม่เพียงพอ ส่งผลให้สมอง
เกิดความผิดปกติ เนื่องจากเซลล์สมองขาดพลังงาน และถ้ามีการขาดพลังงาน
เป็นระยะเวลานาน (ประมาณ 4 นาที) ก็ทำให้เซลล์สมองตาย ส่งผลให้เกิดความพิการทางสมองได้
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยหมดสติ เรียกไม่รู้สึกตัว
สาเหตุ
ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บที่สมอง คือ ขับรถมอเตอรไซด์ชนรถบรรทุกกระเด็นศีรษะกระแทกพื้น โดยไม่สวมหมวกกันน็อค
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
ภาวะชักต่อเนื่อง (Status epilepticus)
การเคลื่อนไหวผิดปกติของร่างกาย แขน ขา
ภาวะติดเชื้อจากการนอนรักษาในโรงพยาบาล (Hospital acquired infection)
ภาวะแผลกดทับ (Pressure sore)
กล้ามเนื้อเกร็ง (Spasticity)
สูญเสียความจำ บุคลิกภาพเปลี่ยน
การมองเห็นผิดปกติ
3.ภาวะชัก
คือ
เป็นภาวะที่ร่างกายมีการปลดปล่อยคลื่นไฟฟ้าออกมาจากเซลล์สมองอย่างทันทีทันใด ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของสมอง โดยเฉพาะความรู้สติ การเคลื่อนไหว การรับความรู้สึก ระบบประสาทอัตโนมัติและด้านจิตใจ
สาเหตุ
เนื่องจากการเกิดลมชักในผู้ป่วยที่ได้รับการกระทบกระเทือนและบาดเจ็บจางของสมอง สามรถเกิดขึ้นได้เมื่อมีการขัดขวางสมดุลของ neurone cell membrane ทำให้เนื่อสมองถูกกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง เหมือนกับเคสกรร๊ศึกษาที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง
มีค่าไฟฟ้าผิดปกติกระจายทั่วสมอง
สูญเสียการรู้สึกตัว
มีอาการเกร็งชักกระตุก
อาจจมีการส่งเสียงก่อน ล้มลงพื้น หรือปัสสาวะราดได้