Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนามัยโรงเรียน (School Health) - Coggle Diagram
การอนามัยโรงเรียน (School Health)
แนวคิด และหลักการของการอนามัยโรงเรียน
องค์ประกอบ และแนวทางการให้บริการอนามัยโรงเรียน
บริการอนามัยโรงเรียน (School Health Service)
สุขศึกษาในโรงเรียน (School Health Education)
ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน บ้านและชุมชน (School and Home Relationship)
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (Healthful School Living)
ขอบเขต และเป้ามายของการอนามัยโรงเรียน
ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
การควบคุมโรคติดต่อโดยการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ส่งผล
ให้เด็กเกิดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
เด็กมีสุขภาพที่ดี
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และกลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
กลวิธีในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
อาศัยกลวิธีหลักที่สำคัญ 4 ประการ
การสร้างหุ้นส่วนและภาคี (Partnerships and Alliances)
เป็นการประสานความคิดและความ
ร่วมมือระหว่างทุกหน่วยงานของสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับอ าเภอ และระดับจังหวัด ความร่วมมือจากทุกฝ่าย
การสร้างเสริมความเข้มแข็งในระดับท้องถิ่น (Strengthening local capacity)
เป็นการดำเนินการเพื่อศักยภาพให้ประชาชน
องค์กรท้องถิ่น และโรงเรียน
การชี้แนะ (Advocacy)
เพื่อให้เกิดความตระหนักใน
สังคมเกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ
การวิจัย ติดตาม และประเมินผล (Research, monitoring and evaluation)
ทุกหน่วยงานทุกระดับที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพควรมีแผนงานที่ชัดเจน
ประโยชน์ของการเข้าร่วมโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ได้รับแนวทางการส่งเสริมสุขภาพพร้อมคู่มือการดำเนินงาน
นักเรียนได้เรียนรู้วิถีชีวิตในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ
ครู ผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชนจะได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความสอดคล้องกับตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งด้านผลผลิตและด้านกระบวนการ
โรงเรียนมีโอกาสได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจากชุมชนและองค์การต่าง ๆเพิ่มขึ้น
แนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เป็นแนวคิดที่กว้างขวางครอบคลุมด้านสุขภาพ อนามัยในทุกแง่ทุก
มุมของชีวิต ทั้งในโรงเรียนและชุมชน นั่นคือ ความร่วมมือกันผลักดันให้โรงเรียนใช้ศักยภาพทั้งหมดที่มี อยู่เพื่อพัฒนาสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนครอบครัวและชุมชน
องค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
องค์ประกอบที่5 บริการอนามัยโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 6 สุขศึกษาในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
องค์ประกอบที่ 8 การออกก าลังกาย กีฬา และนันทนาการ
องค์ประกอบที่ 9 การให้ค าปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
องค์ประกอบที่ 4 การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
องค์ประกอบที่ 10 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 3 โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
องค์ประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน
องค์ประกอบที่ 1 นโยบายของโรงเรียน
บทบาทหน้าที่พยาบาลในงานบริการอนามัยโรงเรียน
บทบาทของพยาบาลอนามัยชุมชน
บทบาทด้านการดูแลรายกรณี (Case manager)
บทบาทเป็นที่ปรึกษา (Consultant)
บทบาทเป็นผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยหรือให้สุขศึกษา (Health educator)
บทบาทเป็นผู้ให้ค าปรึกษา (Counselor)
บทบาทเป็นผู้ประสานงาน (Co - ordinator)
บทบาทเป็นผู้วิจัย (Researcher)
บทบาทการเป็นผู้ดูแลโดยตรง (Direct care)
บทบาทของพยาบาลที่สำคัญและเกี่ยวข้องในโรงเรียน
ด้านการป้องกันโรค
ด้านการรักษาพยาบาลนักเรียนที่ป่วย
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ด้านการฟื้นฟูสภาพนักเรียน
การประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน
การประเมิน (Assessment)
การดำเนินงานตามแผนงาน
วิเคราะห์ข้อมูล และวินิจฉัยปัญหา (Analyzing data and Diagnosis)
การวางแผนงาน (Planning)
การประเมินผลงาน/โครงการ (Evaluation)
การให้บริการอนามัยโรงเรียนในสถานการณ์ต่าง ๆและการป้องกัน ควบคุมโรคที่เกิดในโรงเรียน
การให้บริการอนามัยโรงเรียน
การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลอาหาร
สุขศึกษาในโรงเรียน
การประเมินภาวะสุขภาพ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน
จุดมุ่งหมายในการป้องกัน
เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อไปยังเด็กคนอื่น หรือชุมชนในกรณีมีการระบาดของโรค
เพื่อให้ความรู้ในการป้องกันโรคแก่นักเรียน ครูและเจ้าหน้าที่ในโรงเรียน
ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อเกิดขึ้นในโรงเรียน
วิธีการป้องกัน
ตรวจสุขภาพนักเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
จัดให้มีการให้ภูมิคุ้มกัน ในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ของกรมควบคุมโรคติดต่อ
ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้มและสุขาภิบาลอาหาร
เฝ้าระวังโรคติดต่อโดยการสังเกตอาการของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ถ้าผิดปกติให้รีบรายงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
บริการให้สุขศึกษาในโรงเรียน ซึ่งเป็นวิธีการที่ดี อาจท าโดยวิธีรายบุคคล รายกลุ่ม หรือเสียงตามสายในโรงเรียนหรือในชุมชน