Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขของชาติ, นางสาวสุภาพร บุระขันธ์ เลขที่ 3…
บทที่ 6 ปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขของชาติ
ปัญหาสุขภาพและแนวโน้มของปัญหาสาธารณสุขของชาติ
รายงานสถานการณ์เด่นด้านสุขภาพของคนไทย 10 ประเด็น
ฝุ่นละออง PM2.5
การแบนสามสารเคมีการเกษตร
วิกฤตขยะพลาสติกในทะเลปลุกคนไทยลดขยะพลาสติก
ภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน
นโยบายกัญชาเสรี
การควบคุมโรงพยาบาลเอกชน
บุหรี่ไฟฟ้า
รับมือสังคมสูงวัย
กระแสนิยมเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ
อีสปอร์ต
โรคระบาด โควิด - 19 (ปี 2564)
นโยบาย แผนพัฒนาสาธารณสุข และการปฏิรูประบบสุขภาพของชาติ
แผนพัฒนาสุขภาพและการปฏิรูประบบสุขภาพ นโยบายสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2562 เน้น 5 เรื่องสําคัญ เพื่อประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ คลินิกหมอครอบครัว และรพ.สต.ติดดาว เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการพื้นฐานใกล้บ้าน มีทีมหมอครอบครัวดูแลใกล้ชิด
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) และระบบการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านยา ลดการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยา
การพัฒนาโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ ให้มีอัตราความสําเร็จในการรักษาผู้ป่วยมากกว่าร้อยละ 85 ให้วัณโรคหมดไปจากประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ (HRH Transformation) บูรณาการ ข้อมูลบุคลากรให้
เห็นเป็นภาพรวมของประเทศ เพื่อการวางแผนการบริหารกําลังคนอย่างมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (Digital Transformation) บูรณาการข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขให้เป็นหนึ่งเดียว เร่งสร้าง Application PCC, Smart Hospital ระบบข้อมูลสุขภาพ (HealthInformation) ระดับจังหวัด ให้เกิดเป็นรูปธรรม
แผนพัฒนาสุขภาพและการปฏิรูประบบสุขภาพ
บริบทที่เกี่ยวข้องกับการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564)
คนไทยทุกคนมีคุณภาพสามารถปรับตัวรองรับ
สังคมสูงวัยและบริบทการพัฒนาในอนาคต
มีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและแข่งขันได้
สังคมมีความเหลื่อมล้ําน้อยลง
รักษาทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีความมั่นคงอาหาร พลังงาน และน้ํา
มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้กระจายอํานาจและมีส่วนร่วมจากประชาชน
มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัยสามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
โดยการพัฒนาความเป็นเลิศใน 4 ด้าน
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค (P&P Excellence)
ระบบบริการ (Service Excellence)
การพัฒนาคน (People Excellence)
ระบบบริหารจัดการ (Governance Excellence)
ความสําคัญของการสาธารณสุข การสาธารณสุข
มีความสําคัญและเป็นกิจกรรม ที่จําเป็นต่อสังคม ดังนี้คือ
ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี
เมื่อประชาชนสุขภาพดีจะมีชีวิตยืนยาวและมีความสุข
การมีสุขภาพดีจะท าให้ประชาชนมีสมรรถนะทางสติปัญญา สามารถศึกษาหาความรู้ สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และผลิตสมาชิกที่มีคุณภาพ
ประชาชนที่มีคุณภาพ มีความรู้ มีรายได้ จะช่วยพัฒนาประเทศได้ดี
องค์ประกอบในการจัดบริการสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
การป้องกันการเจ็บป่วยและการป้องกันโรค (Illness | Disease Prevention)
การรักษาพยาบาล (Curation)
การจำกัดความพิการ (Disability Limitation)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation)
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
เข้าถึงได้ (Accessibility)
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (Acceptability)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
มีความเสมอภาค (Equity)
มาตรการทางสาธารณสุข เป็นวิธีการทางสาธารณสุข ที่จะใช้ควบคุมและป้องกันสภาวะต่าง ๆ ที่อาจ
ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัย มี 3 วิธี คือ
มาตรการทางการศึกษา (Educational approach)
มาตรการทางกฎหมาย (Regulatory approach)
มาตรการทางการบริการสุขภาพ (Health service approach)
นางสาวสุภาพร บุระขันธ์ เลขที่ 3 ห้อง B รุ่นที่ 26