Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
จมูก
โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้(Allergic Rhinitis)ผิดปกติของภูมิคุ้มกัน เกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูกหลังได้รับสารก่อภูมิแพ้
-
การตรวจ
พบจำนวนEosinophil ในเลือดสูง พบEosinophil ในน้ำมูกมากกว่าร้อยละ 30 ของเม็ดเลือดขาว พบ Mast cell / Basophil ที่เยื่อบุจมูกมากกว่าปกติ
ไข้หวัด(Common cold) ติดเชื้อที่คอและจมูก ทำให้เยื่อจมูกบวม แดง มีการหลั่งเมือก หายเองใน 1สัปดาห์ บางครั้งเรียก upper respiratory tract infection
URI เกิดจากเชื้อไวรัส รวมเรียกว่า Coryza viruses ประกอบด้วย Rhino-viruses อื่นๆมี Adenoviruses,Respiratory syncytial virus
exudate สารหลั่ง น้ำหรือมูกใส เรียก Catarrhal inflammation, แบบข้นหรือหนอง เรียก Purulent inflammation
-
โพรงอากาศข้างจมูก Sinus
ไซนัสอักเสบ(sinusitis)แบ่งเป็นชนิดเฉียบพลันกับเรื้อรัง มีเชื่อโรคเข้าไปทำลายทำให้เยื่อบุอักเสบ อาจเป็นเชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส รูเปิดเล็กลงตีบตันได้ง่าย
สาเหตุ
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตอนบนURI ระยะแรก เกิดจากไวรัส โรคหวัดทำให้เยื่อบุจมูกอักเสบ อาจอักเสบต่อเนื่องถึงไซนัส ต่อมาติดแบคทีเรียก้วย ทั่วไปหายได้เป็นปกติ ร้ายแรงอาจทำลายเยื่อบุจมูกและเยื่อบุไซนัส ทำให้บวม มีผังหืด อุดตันของรูเปิดไซนัสกับโพรงจมูก อักเสบเรื้อรังได้
การติดเชื้อของฟัน เกิดจากหันผุ อาการชัดเจนหลังถอนฟันไปแล้ว เกิดรูทะลุระหว่าง Maxillary sinus และเหงือก
-
-
-
-
-
-
-
ปอด (Lung)
ถุงลมแฟบ(Atelectasis)
เกิดจากถุงลมไม่เคยขยายตัวเลยหรือเคยขยายตัวแล้วกลับแฟบลงภายหลัง ถ้าเกิดขึ้นกับเนื้อปอดปริมาณมากจะทำให้ขาดออกซิเจน ติดเชื้อได้ง่าย เนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ
-
ถุงลมโป่งพอง(Emphysema)
เป็นโรคที่เนื้อปอดค่อยๆเสื่อมสมรรถภาพจากการได้รับควันบุหรี่ สารไนโตรเจนออกไซด์ในควันบุหรี่ จะทำลายเนื้อเยื่อในปอดและถุงลมให้ฉีกขาดทีละน้อย รวมตัวกลายเป็นถุงลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดถุงลมโป่งพองทำให้เนื้อเยื่อในปอดเล็กลง หายใจเร็วขึ้น เพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพียงพอ
-
หอบหืด(Bronchial Asthma)
ทางเดินหายใจมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นมากเกินไป ทำให้มีการเกร็งของหลอดลมมีเสมหะเพิ่มขึ้น หายใจลำบากมาก ได้ยินเสียงวีด หายได้เองกลับเป็นปกติได้ หายเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
สาเหตุ
Intrinsic asthma
เกิดจากองค์ประกอบสาเหตุย่อยในร่างกายปริมาณ IgEสูง เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจหรืออื่นๆเช่นการออกกำลังกาย ออกซิเจนในเลือดเยอะ
Extrinsic asthma
แพ้สารภายนอก เช่น ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ antigen กระตุ้นให้มีการสร้าง IgE ติดว่า masr cell แตกออก หลั่งสารเคมีออกมา ทำให้หลอดลมบวม หดเกร็ง มีสารคัดหลั่ง (Secretion)
-
-
-
วัณโรคปอด(Pulmonary Tuberculosis) เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis เป็น acid fast bacilli เป็นไมโครแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่สามารถมองเห็นได้ เชื้อใสเสมหะกระจายโดยการหายใจ เกิดพยาธิสภาพทุกอวัยวะ M.bovisอยู่ในนม ก่อโรคในสัตว์ ติดต่อถึงคนได้ โดยการกินนมไม่ฆ่าเชื้อ
-
-
-
โครงสร้างระบบหายใจ
conducting division ให้อากาศผ่าน ให้ความชุ่มชื้นแก่อากาศ อุ่นอากาศ ทำความสะอาดอากาศไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
trachea หลอดลม
เป็นท่อขนาด 12 ซม. ประกอบไปด้วยวงแหวนกระดูกอ่อน สิ้นสุดบริเวณที่มันแตกแขนงด้านล่าง
เป็นหลอดลมหลัก 2 ข้าง. เยื่อบุที่มีขนเซลล์ของท่อลม ทำหน้าที่เปรียบเป็นบันไดเลื่อนเมือกที่มีขนเซลล์เพื่อเอาเศษที่ติดเมือกท่อลมในการหายใจเข้า ออกจากระบบทางเดินหายใจ เริ่มจากกระดูกคอชิ้นที่ 6 จนถึงกระดูกอกชิ้นที่ 5 แล้วจึงแตกแขนง
bronchi หลอดลมแยก
หลอดลมหลัก หรือหลอดลมปฐมภูมิ (primary bronchus) แต่ละข้าง เลี้ยงปอดแต่ละข้าง และให้หลอดลมทุติย
ภูมิ (secondary bronchus) ในแต่ละกลีบของปอด และหลอดลมดังกล่าวยังแบ่งแขนงย่อยเป็นหลอดลมตติยะภูมิ
(tertiary bronchi) ที่เล็กลงไปอีก ขวาลาดกว่าซ้ายจึงมีสิ่งแปลมปลอมตกไปขวามากกว่า
larynx กล่องเสียง
เป็นห้องทำด้วยกระดูกอ่อน เริ่มต้นด้านบนจากชุดสายเสียง (glottis) และสิ้นสุดประมาณ 4ซม.ใต้ต่อ ท่อลม (trachea). ประกอบไปด้วยสายเสียง (vocal cord) และป้องกันจากอาหารและเครื่องดื่มออกจากช่องทางเดินหายใจ. กล้ามเนื้อภายในของกล่องเสียงทำหน้าที่ในการพูด และกล้ามเนื้อภายนอกช่วยในการปิดกล่องเสียง(epiglostis)ระหว่างกลืน
bronchiole
เป็นแขนงละเอียดของทางเดินหายใจที่ปรากศจากกระดูกอ่อน. แขนงย่อยของทางเดินอาหาศ (conducting division) ที่เล็กที่สุดคือหลอดลมฝอยส่วนปลาย (terminal bronchioles) ถัดไปจากนี้หลอดลมฝอยหายใจ (respiratory bronchioles) ที่มีผนังบาง จะเป็นส่วนเริ่มต้นของแขนงหายใจ (respiratory division). หลอดลมฝอยหายใจมีถุงลม (alveoli) แนบตามผนังและแขนงของมันที่ต่อไปยังท่อถุงลม(alveolar duct)
pharynx คอหอย
เป็นช่องกล้ามเนื้อที่แบ่งแยก คอหอยส่วนจมูก (nasopharynx)มีทอนซิลดักจับเชื้อโรคมีต่อมน้ำเหลือง คอหอยส่วนปาก
(oropharynx) และ คอหอยส่วนกล่องเสียง (laryngopharynx) .
-
-
จมูก(Nose)
แต่ละแอ่ง (fossa) มี nasal conchae ลักษณะคล้ายเปลือกหอยม้วน 3 อัน ปกคลุมด้วยเยื่อเมือกที่มีซีเลียอยู่.
Conchae ทำหน้าที่อุ่น ให้ความชื้น และล้างอากาศที่ไหล มีCiliaกรองฝุ่นละออง
มี ไซนัส 4คู่ Frontal,ethmoidal,sphenidal,maxillary
รูจมูกส่วนหน้า (anterior nares) ไปยังช่องจมูกส่วนหลัง (posterior nares) และถูกแบ่งด้วยผนังกั้น
จมูก (nasal septum) เป็นแอ่งจมูก (nasal fossae) ด้านซ้ายและขวา
-
ปอดแต่ละข้าง เป็นอวัยวะรูปโคน ยื่นจากปลายยอดทางด้านบน (superior apex) มากยัง ฐานกว้างทางด้านล่าง(inferior, broad base) ปอดซ้ายแบ่งเป็น 2 กลีบ และปอดขวาแบ่งเป็น 3 กลีบ.เยื่อหุ้มตัวปอด (visceral pleura) เยื่อหุ้มปอดส่วนผนังอก (parietal pleura) ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ด้านเรียกว่า โพรงเยื่อหุ้มปอด (pleural cavity) หล่อลื่นด้วย น้ำเยื่อหุ้มปอด (pleural fluid). เยื่อหุ้มปอดช่วงลดการเสียดทานระหว่างการหายใจ