Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Colostomy, นางสาวพรรณิดา ภาระโข รหัสนักศึกษา 62108301065 ชั้นปี 2 - Coggle…
Colostomy
-
-
-
Type of Colostomy
1.1 แบบชั่วคราว (Temporary Colostomy หรือ Loop Colostomy)
1.2 แบบถาวร (Permanent Colostomy)
เป็นโคลอสโตมีที่ทำไว้ตลอดชีวิต
- ทำในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับลำไส้อย่างถาวรจาก อุบัติเหตุ การอักเสบหรือมะเร็ง
- พบบ่อยในผู้ป่วยมะเร็ง ตำแหน่งที่ทำมักเป็นลำไส้ส่วนซิกมอยด์
2.1 รูเปิดเดี่ยว (Single barreled) โคลอสโตมีชนิดนี้จะมีรูเปิดบริเวณหน้าท้องเพียง 1 แห่ง จะเป็นชนิดถาวรถ้าลำไส้ช่วงปลาย (Distal part) ได้ถูกตัดออก
2.2 ชนิดสองรูเปิด (A double barreled colostomy) เป็นโคลอสโตมีที่มีรูเปิดของลำไส้ทั้งสองส่วนของลำไส้ แพทย์จะตัดลำไส้ขาดออกจากกัน แล้วเอาส่วนปลายทั้งสองมาทำการเปิดออกทางหน้าท้องจึงมีรูเปิด 2 แห่ง โดยปกติจะทำที่ลำไส้ขวาง (Transversecolon) รูเปิด
2.3 A Loop colostomy เป็นการผ่าตัดโคลอสโตมีแบบชั่วคราว มักทำบริเวณลำไส้ขวาง (Transverse colon) แบบนี้ลำไส้ไม่ถูกตัดขาดจากกัน ศัลยแพทย์จะนำเอาส่วนของลำไส้ (Loop of colon) ผ่านผนังช่องท้อง โดยสอดแท่งพลาสติกคาไว้เพื่อป้องกันมิให้ลำไส้ถูกดึงกลับเข้าไปในช่องท้อง ปิดแผลไว้จนกระทั่งแผลเริ่มมีการหายไป ภายหลังผ่าตัด 2-3 วัน แพทย์จะทำรูเปิดของโคลอสโตมีโดยใช้จี้ไฟฟ้า ผู้ป่วยจะไม่เจ็บเนื่องจากผนังของลำไส้ไม่มีปลายประสาทรับความรู้สึก แต่แท่งแก้วยังสอดไว้เป็นเวลานาน 7-10 วัน ซึ่งเป็นเวลาที่แผลเริ่มหายและส่วนของลำไส้จะติดกับหน้าท้อง
- การแบ่งตามตำแหน่งของลำไส้
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
2.1 การตีบแคบของรูเปิด (Stricture of stoma) เกิดเนื่องจากมีแผลเป็นรอบปากรูเปิดเนื่องจากเทคนิคในการเย็บปากโคลอสโตมีไม่ดี
-
-
2.4 ฝีทะลุ (Pericolostomy Fistula) เกิดจากการเย็บโคลอสโตมีผิดวิธีหรือจากการทำให้ทะลุโดยเครื่องมือแพทย์
2.5 แผลถลอก (skin Excoriation) ผิวหนังรอบๆ โคลอสโตมีมีการอักเสบ เนื่องจากมีการระคายเคืองต่ออุจจาระ (fecal content) ที่ออกมาทำให้ระคายหรือเกิดจากการลอกถุงโคลอสโตมีรุนแรงเกินไป
1.2 การอุดตัน เกิดการอุดตันของลำไส้ เนื่องจากมีไส้เลื่อนของลำไส้เข้าไปในช่องว่างด้านข้าง (Lateral space)
1.3 ดึงรั้ง (Detachment colostomy) ที่ยกมาหลุดเข้าไปในช่องท้อง เกิดเนื่องจากการเย็บติดโคลอสโตมีกับเนื้อเยื่อและผิวหนังรอบๆ ไม่ดี พอดึงลำไส้ออกมาตึงเกินไป เมื่อมีการดึงมากจะหลุดเข้าไปในช่องท้อง
-
-
1.6 ผลุบกลับเข้าช่องท้อง (Evisceration) มักเกิดในกรณีที่นำโคลอสโตมี ออกมาบริเวณแผลผ่าตัด และเทคนิคไม่ดีพอ ทำให้แผลผ่าตัดนี้มีการติดเชื้อเกิดการแยกตัวของแผลทำให้โคลอสโตมีที่นำออกมาหลุดตกลงไป
1.1 การเน่าตาย เกิดเนื่องจากลำไส้บริเวณรูเปิด (stoma) มีเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากนำโคลอสโตมีมาเปิดบริเวณผนังหน้าท้องที่รัดแน่นเกินไปหรืออาจเกิดอันตรายต่อเส้นเลือดที่เลี้ยงลำไส้นั้น
ความหมาย
การผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่ออกมาเปิดทางหน้าท้องเพื่อเป็นทางออกของอุจจาระ โดยมีรูเปิดบริเวณหน้าท้องเรียกว่า stoma
stoma
- มีลักษณะสีชมพูหรือแดง ชุ่มชื้น บริเวณผิวหนังเรียบด้วยเยื่อบุคล้ายกับในช่องปาก
- ไม่มีกล้ามเนื้อหูรูดในการควบคุมการขับถ่าย
Peristomal skin lesion
- Skin barrier powder เป็นวัสดุดูดซับความชื้นชนิดผง
- Skin barrier paste เป็นครีมข้น เหนียว จับตัวเป็นก้อน เคลือบผิวได้ ดูดซับน้ำได้เล็กน้อย
-
-