Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertensive emergency, ESRD with Volume overload - Coggle Diagram
Hypertensive emergency, ESRD with Volume overload
2.ความหมาย ความดันโลหิตสูงขึ้นอย่างเฉียบพลัน,ไตวายระยะสุดท้ายร่วมกับมีภาวะน้ำเกิน
-
-
3.พยาธิสภาพ
Hypertensive emergency
ความดันโลหิตของบุคคลจะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจและแรงต้าน การไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลายโดยความดันโลหิตคือปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที (cardiac output) และความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายการมีระดับความดันโลหิตสูงเกิดจากการ เพิ่มข้ึนของปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงหรือทั้งสองปัจจัยหรือจากความล้มเหลวของกลไกการปรับชดเชยปัจจัยหลักที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความดันโลหิต ได้แก่ ระบบประสาทซิมพาธิติก (Sympathetic nervous system) ระบบเรนิน – แองจิโอเทนซิน (renin-angiotensin system) และระบบการทำงานของไต
ESRD
เกิดจาก การที่ท่อไตไม่สามารถเก็บกักโซเดียมได้อย่างปกติ เนื่องจากโซเดียมเป็นตัวกระตุ้นการเกิด เรนนิน-แองจิโอเทนซิน-อัลโดสเตอโรน มีผลทำให้มีการลดการไหลเวียนกลับของเลือดบริเวณไต ร่างกายจึงเพิ่มการหลั่งวาโซเพรสซิน ทำให้เซลล์บวม ยับยั้งการสังเคราะห์โพรสทาแกลนดิน และ กระตุ้นระบบเรนนิน-แองจิโอเทนซินให้หลั่งมากขึ้นทำให้การไหลเวียนของเลือดลดลง ซึ่งมีผลลดการไหลเวียนของเลือดบริเวณไตด้วย อัตราการกรองที่ท่อไตจึงลดลง และทำให้มีปัสสาวะน้อยกว่า ปกติ การลดอัตราการไหลเวียนเลือดที่ไต นำไปสู่การลดการส่งออกซิเจนไปยังท่อไตส่วนต้น ดังนั้นจึง มีผลทำให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อและกลุ่มเซลล์ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เมมเบรนของหลอดเลือดที่ท่อไต การหดเกร็งของหลอดเลือดบริเวณไตทำให้ลดอัตราการกรองของไตหรืออาจเกิดการอุดตันในท่อไตจากเซลล์และเศษเซลล์ทำให้ความดันในท่อไตเพิ่มข้ึน เป็นผลให้ไตถูกทำลาย
-
1.ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ44ปี มีอาการหาวนอนบ่อยครั้ง ขอบตาคล้ำเล็กน้อย หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ฟังเสียงปอดพบcrepitation ทั้งสองข้าง on O2 cannular 3L/min วัดค่าSpO2=96% ผิวคล้ำ แขน ขา บวมกดบุ๋ม สังเกตเห็นหลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง แขนข้างซ้ายทำAVF คลำพบthrill ฟังได้ยินเสียงbruit สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 36.8องศาเซลเซียส ชีพจร124ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ28ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 169/79มิลลิเมตรปรอท น้ำหนัก117กิโลกรัม ส่วนสูง 178 เซนติเมตร รับประทานอาหารได้น้อย คลื่นไส้เวลารับประทานอาหาร บางครั้งอาเจียนหลังรับประทานอาหาร ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นHypertensive emergency, ESRD with Volume overload
-
-
7.การรักษา
-
โรคความดันโลหิตสูง
-
ออกกำลังกายแบบแอโรบิก หมายถึงการออกกำลังกาย ที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายตลอดเวลา เช่น วิ่ง เดินเร็ว ว่ายนํ้า อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย วันละ 15-30 นาที 3-6 วันต่อสัปดาห์ และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
-
-
-
รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ โดยการลดอาหารเค็มจัด ลดอาหารมัน เพิ่มผักผลไม้ เน้นอาหารพวกธัญพืช
ปลา นมไขมันต่ำ ถั่ว รับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวต่ำ หลีกเลี่ยงเนื้อแดง
น้ำตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวานจะทำให้ระดับความดันโลหิตลดลงได้
-