Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 การพยาบาลมารดาที่มีความผิดปกติทางจิตใจหลังคลอด - Coggle Diagram
บทที่8 การพยาบาลมารดาที่มีความผิดปกติทางจิตใจหลังคลอด
ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจน้ันจะมีอารมณ์แปรปรวนได้ง่าย เนื่องจากการลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอร์โรนร่วมกับ
ความอ่อนเพลีย อ่อนล้าจากการคลอด การพักผ่อนไม่เพียงพอทางสังคมน้ันภาระที่เพิ่มเติมขึ้นทั้งการเลี้ยงดูบุตร สภาวะเศรษฐกิจซึ่งต้องอาศัยการปรับตัวที่ดี
จำแนกได้เป็ น 3 ชนิด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
ความตึงเครียด วิตกกังวล หรือกระสับกระส่าย
อาการทางร่างกาย เช่น หายใจลำบาก ใจสั่น เวียนศีรษะ
ความรู้สึกเศร้าโศก ซึมเศร้า คิดว่าตนเองไม่มีคุณค่า (Self depreciative thinking)
ต้องการนอนพักผ่อนนานๆ อ่อนเพลีย (Malaise) หรืออาเจียน
ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
ความสนใจลดลง หลงลืมง่าย ความคิดสับสนมึนงง
การรักษา
ดูแลให้มารดาได้รับการพักผ่อนเพียงพอ โดยอาจนำบุตรมาให้มารดาเลี้ยงช่วงกลางวันและมีผู้ช่วยดูแลในตอนกลางคืน
ให้มารดาได้รับความสุขทางร่างกาย บรรเทาความเจ็บปวดร่วมกับการอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหลังคลอด
พยาบาลควรให้ความสนใจต่อการพูดคุยกับมารดา ให้การดูแลอย่างใกล้ชิดและสม่ำเสมอ ด้วยท่าทีและคำพูดที่แสดงถึงความเข้าใจและเต็มใจช่วยเหลือ
การให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนและการเลี้ยงดูบุตร ควรปรับให้เหมาะสมกับสภาพการดำรงชีวิตของมารดาแต่ละคนควรมีการทบทวนซ้า เพราะมารดาจะมีความวิตกกังวลสูง จะไม่สามารถ
รับฟังหรือจดจำคำแนะนำได้หมด
ให้กำลังใจโดยการกล่าวชมเชย เมื่อมารดาสามารถปฏิบัติตัวและดูแลทารกได้ถูกต้อง เพื่อให้มารดาเกิดความมั่นใจในบทบาทของตน
ทันทีที่พบว่ามารดาเริ่มประสบความยุ่งยากในการเลี้ยงบุตร พยาบาลควรส่งเสริมให้กำลังใจ
ในรายที่ซึมเศร้ารุนแรง โดยเฉพาะรายที่กำลังเข้าสู่ภาวะซึมเศร้า หรือระยะฟื้นตัวจากการซึมเศร้า