Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ อายุ17 ปี Dx : G1P0 GA38 +5 Wks with CPD - Coggle Diagram
หญิงไทย อายุ อายุ17 ปี Dx : G1P0 GA38 +5 Wks with CPD
ประวัติสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และครอบครัว
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว และโรคทางพันธุกรรม
ประวัติการเจ็บป่วยและการผ่าตัดในอดีต :
เป็น Asthma เมื่อ 1 ปี ที่แล้ว
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
G1P0A0 GA 38+5 wks with CPD ครบกำหนดคลอด
ปฏิเสธการแพ้ยา อาหารและสารเคมี และการใช้สารเสพติด
ประวัติทางสูติกรรม
ประจำเดือน
ประจำเดือนมาครั้งแรกอายุ 12 ป<
ประจำเดือนมาทุก 28-30 วัน
นานครั้งละ 6-7 วัน
ปฏิเสธการวางแผนครอบครัว
ปฏิเสธการคุมกำเนิด
ประวัติการคลอด
ด้านมารดา
C/S with CPD
ด้านทารก
เพศหญิง น้ำหนัก 3,045 กรัม
สุขภาพทารกแรกคลอดปกติ
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ฝากครรภ์ ครั้งแรก 8 กันยายน 2563 GA 8 +3 Wks สถานที่คลินิกแพทย์
LMP 10 กรกฎาคม 2563
EDC 17 เมษายน 2564
รู้สึกเด็กดิ้นครั้งแรกวันที่ 26 กุมพาพันธ์ 2564
ความสูง 163 cm. น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 62 kg. BMI 23.34 kg/ m3
การตรวจเต้านม/ หัวนม : หัวนมสั้น
ปฏิเสธอาการผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 23 กันยายน 2563
หมู่เลือด B VDRL: negative OF : negative Rh : Rh+ Hb - กรัม% Hct : 37 % HbsAg : negative HIV :negative
ครั้งที่ 2 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564
Hb - กรัม% Hct : 53 % VDRL : negative HbsAg : negative HIV : negative
ข้อมูลการคลอด
อาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาล : G1P0A0 GA 38+5 wks ครบกำหนดคลอด
รายงานการคลอด วันที่ 8 เมษายน 2564 ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เนื่องจากการผิดสัดส่วนของศีรษะ
ทารกกับครรภ์ มารดา เวลา 11.36 น. ทารกเพศหญิง น้ำหนัก 3,045 g เสNนรอบศีรษะ 36 cm ความ
ยาว 51 cm BT 37.3 C RR 52 bpm HR 152 bpm O2sat 95% APGAR score 1 นาที 9 คะแนน
5 นาที 10 คะแนน Blood loss 300 ml
สรุปปัญหาระยะคลอด : มารดาและทารกไม่มีปัญหาในระยะคลอด
อาการเปลี่ยนแปลงหลังคลอดและแผนการพยาบาล
มารดา
อาการเปลี่ยนแปลงของมารดาหลังคลอดและการดูแลกJอนรับไวNในความดูแลของนักศึกษา : มารดาหลัง คลอดรูNสึกตัวดีไมJมีอาการปวดศีรษะ ตาพรJามัว จุกแนJนลิ้นปี่ร้าว มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง ไม่มีเลือดซึม สัญญาณชีพ ความดัน 118/68 mmHg ชีพจร 88 ครั้ง/นาที หายใจ 20 ครั้ง/นาที Pain score 4 คะแนน
ทารกแรกเกิด
อาการเปลี่ยนแปลงของทารกแรกเกิดและการดูแลกJอนรับไวNในความดูแลของนักศึกษา - Vit K 1 mg IM วันที่ 8 เมษายน 2564 - HBVAC 0.5 cc IM วันที่ 8 เมษายน 2564 แรกรับทารกหลังคลอด ทารก Active ดี คำแนะนำการดูแลทารกแรกเกิดที่ได้ก่อนรับไว้ในการดูแลของนักศึกษา ดูแลให้ทารกไดNรับน้ำนมแม่ ดูแลให้ทารกถ่ายขี้เทา อุจจาระ ปัสสาวะ
Cephalopelvic disproportion : CPD
Defination
มีความแตกต่างของขนาดศีรษะทารกและอุ้งเชิงกรานซึ่งทำให้ทารกไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้หรืออาจเกิดจากการที่ทารกมีการบิดหรือเงยท่าให้เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะใหญ่เกินกว่าจะผ่านช่องเชิงกรานลงมาได้
สาเหตุ
ทารกตัวโตมากประมาณน้ำหนักไม่น้อยกกว่า 4500 กรัม
ส่วนน่าผิดปกติ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
การวินิจฉัย
ปากมดลูกเปิดอย่างน้อย 4 เซนติเมตรขึ้นไปและบางตัวอย่างน้อยร้อยละ 80 ขึ้นไป
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอและแรงพออย่างน้อย 2 ชั่วโมง
การดำเนินการคลอดผิดปกติ
Protraction disorders
Arrest disorder
การจำแนกชนิด
แบบสมบูรณ์ (absolute CPD)
มีความแตกต่างของขนาดศีรษะทารกและขนาดของอุ้งเชิงกรานซึ่งทำให้ทารกไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
แบบสัมพัทธ์ (relative CPD)
การที่ศีรษะทารกมีการบิดหรือเงยทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะทารกที่จะผ่านช่องทางคลอดใหญ่เกินกว่าจะผ่านลงมาได้
Cesarean section
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อนำตัวเด็กทารกในครรภ์ออกมาทางแผลผ่าตัดด้านหน้ามดลูก
ประเภทการผ่าตัด
Classical caesarean section เป็นการผ่าตัดตามแนวตั้งบริเวณส่วนบนของมดลูก
Low segment caesarean section เป็นการผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกโดยผ่าดามแนวขวางของมดลูก
Caesarian Hysterectomy เป็นการตัดมดลูกออกทั้งหลังปาทารกออกจากมดลูกทันทีจะทำในรายที่มดลูกแตกหรือมีเนื้องอกในมดลูกขนาดใหญ่
ข้อบ่งชี้
Failed induction
Cephalopelvic disproportion (CPD)
Failure to progress in labor
Proven fetal distress
Plavental abruption
Placental previa
Umbilical cord prolapsed Conjoined twins
การดูแลหลังผ่าตัด
ให้ยาแก้ปวดบันทึก
intravenous fluid
vital signs
การให้นมบุตรสามารถให้ได้ในวันแรกหลังผ่า
ถ้ามารดาไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ สามารถกลับบ้านได้ในวันที่ 3 หลังผ่าตัด
สายสวนปัสสาวะมักคาไว้ประมาณ 12 ซม. แล้วเอาออก
early ambulate
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
เสียเลือดเป็นจํานวนมากจากผ่าตัดได้รับยาสลบเป็นเวลานาน
ช็อกเสียเลือดเป็นจำนวนมา
แพ้ยาที่ได้ขณะผ่าตัด
การติดเชื้อของอวัยวะต่าง ๆ ภายในช่องท้อง
อวัยวะใกล้เคียงได้รับการกระทบกระเทือนหรือชอก
อาการปวดแผลอย่างรุนแรงและเป็นเวลานาน
ด้านทารก
เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ทารกอาจได้รับความชอกช้ำหรือกระทบกระเทือนจากการผ่าตัด