Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขของชาติ, นางสาวสุรีรัตน์ เผ่าหอม เลขที่ 71…
ปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขของชาติ
ปัญหาและแนวโน้มของปัญหา
สาธารณสุขของชาติ
ฝุ่นละออง PM2.5
สาเหตุ
การเผาวัสดุการเกษตร
ไฟป่า
การเผาไหม้ทั้งจากยานพาหนะ
กระบวนการ
อุตสาหกรรม
ระดับความรุนแรงของ PM2.5 องค์การอนามัยโลก หรือ World Health Organization (WHO) กำหนดให้ฝุ่น PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของสารก่อมะเร็ง
แนวทางการป้องกันฝุ่น PM2.5
สวมหน้ากาก N95
หากไม่ใช้หน้ากาก N95 อาจใช้หน้ากากอนามัยที่มีฟิลเตอร์ 3 ชั้น
พยายามหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง
ใช้เครื่องฟอกอากาศ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
โรคหลอดเลือดในสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบหายใจส่วนล่าง
การแบนสามสารเคมีการเกษตร
จากมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายที่ “ให้มีการแบน 3 สารพิษได้แก่ ไกลโฟเซต พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 62 เป็นต้นไป”
วิกฤตขยะพลาสติกในทะเล ปลุกคนไทยลดขยะพลาสติก
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มีสัตว์ทะเลและสัตว์ป่าเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น
แนวทางป้องกัน
ปี 2562 ได้ปลุกคนไทยให้ตระหนักถึงวิกฤตขยะพลาสติก มาตรการงดแจกถุงพลาสติกหูหิ้วของห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ตและร้านสะดวกซื้อทั่วประเทศ
ภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน
ภาวะซึมเศร้าเป็นสาเหตุสำคัญของการนำไปสู่การฆ่าตัวตายในวัยรุ่น ซึ่งอุบัติการณ์ที่ผ่านมาพบว่า ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้ามีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าจะเห็นคุณค่า ในตนเองในระดับต่ำ มีความเปราะบางทางอารมณ์ที่สูงรวมถึงมีความยากลำบากในการจัดการกับอารมณ์ของตนเอง
ปัจจัยเสี่ยงของเด็กและเยาวชนไทยต่อภาวะซึมเศร้า
คนที่มีความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า คือ คนใกล้ชิด
กับความสูญเสีย
การเสนอข่าวการฆ่าตัวตาย หรือการทำร้ายตัวเอง
ซ้ำ ๆ ย้ำ ๆ
. การเน้นผลสัมฤทธิ์และการเปรียบเทียบแข่งขัน
ที่มากเกินไป
วิถีชีวิตของเด็กติดจอ/เด็กในเมืองที่ต้องเร่งรีบ
การป้องกันและลดการเกิดภาวะซึมเศร้า
ปลูกฝังกรอบการคิดแบบเติบโต (Growth
Mindset)
. สะสมทุนชีวิตให้กับเด็ก (เพิ่มปัจจัยเสริม
ลดปัจจัยเสี่ยง) ฝึกให้เจอทั้งความล้มเหลวและความส�ำเร็จ
เข้าใจเด็กในสิ่งที่เขาเป็น (ทุนสังคม ทุนจิตใจ
ทุนความสามารถ)
เราเป็นสิ่งแวดล้อมของกันและกัน
นโยบายกัญชาเสรี
การควบคุมกัญชาไม่ให้เอามาใช้ในทางเสพติด เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีมาตรการควบคุม ควบคู่ไปกับการอนุญาตใช้พืชกัญชาทางการแพทย์อย่างมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง
การควบคุมโรงพยาบาลเอกชน
ปี 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติให้ยา เวชภัณฑ์ และบริการทางการแพทย์ เป็นสินค้าและบริการควบคุม ผลของมติคณะรัฐมนตดังกล่าวทำให้กระทรวงพาณิชย์เข้าไปควบคุมดูแลเรื่องราคายา เวชภัณฑ์และบริการทางการแพทย์ได้
บุหรี่ไฟฟ้า
บุหรี่ไฟฟ้าประดิษฐ์ขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกให้คนเลิกสูบบุหรี่แบบธรรมดาที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จนเกิดความเชื่อผิด ๆ ว่าปลอดภัย อันตรายน้อยกว่าและนำมาใช้เพื่อให้เลิกสูบบุหรี่ได้
องค์การอนามัยโลกจึงประกาศว่า บุหรี่ไฟฟ้าไม่ใช่อุปกรณ์ หรือเครื่องมือสำหรับการเลิกบุหรี่ ความเป็นจริงคือ วิธีเลิกสูบบุหรี่โดยใช้บุหรี่ไฟฟ้านี้ได้ผลต่ำกว่าการใช้วิธีอื่น และ ยังทำให้ติดทั้งสองอย่างอีกด้วย
รับมือสังคมสูงวัย
ปี 2563 ป ระเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปร้อยละ 18 ของประชากรทั้งหมดและในอีกไม่เกิน 15 ปี ข้างหน้าคาดประมาณว่าประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอด
กระแสนิยมเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ
ประมาณเกือบ 1 ใน 4 ของ คนไทย (16.03 ล้านคน) เลือกที่จะมีกิจกรรมทางกาย ออกกำลังกายและเล่นกีฬาด้วยวิธีการเดิน - วิ่งเพื่อสุขภาพ
อีสปอร์ต
คือกิจกรรมการแข่งขันวิดีโอเกมที่ได้รับความนิยมจากผู้เล่นเกมทั่วโลกจ านวนมาก
• WHO ให้คำจำกัดความผู้ที่เข้าข่าย เป็นโรคติดเกมว่า มีพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ หรือวิดีโอเกมทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ โดยที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้รวมถึงไม่สามารถหยุดเล่นเกมได้แม้จะได้รับผลลัพธ์ที่ไม่ดี เช่น ปัญหาสุขภาพ
นโยบาย แผนพัฒนาสาธารณสุข และการปฏิรูประบบสุขภาพของชาติ
เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์มี 4E
1.การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
(P&P Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ได้รับการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
แผนงานที่ 2 การปูองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แผนงานที่ 3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนา
4) มีระบบการบริการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพของประชาชน
5) ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค
1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ดี
2) มีระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวังโรคที่สามารถตอบสนองได้ทันที
3) มีระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ
2.ระบบบริการ
(Service Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ประชาชนได้รับการ บริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพครอบคลุมทั่วถึงลดความเหลื่อมล้ำของ
ผู้รับบริการในด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เป้าหมายการพัฒนา
1) มีหมอครอบครัวดูแลประชาชนทุกครัวเรือน
2) มีระบบบริการสุขภาพที่ได้คุณภาพมาตรฐาน
3) มีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
4) มีเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ทันสมัยและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
5) มีความร่วมมือทั้งระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศโดยเฉพาะในการป้องกันและรักษาโรคที่มีความสำคัญ
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนงานที่ 4 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การพัฒนาตามโครงการพระราชด าริและพื้นที่เฉพาะ
แผนงานที่ 6 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข
3.การพัฒนาคน (People Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้มีกำลังคนด้านสุขภาพที่เพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจายที่เหมาะสม เป็นธรรมและทั่วถึงแท้จริง
เป้าหมายการพัฒนา
1) วางแผนอัตรากำลังให้สอดคล้องกับกรอบความต้องการอัตราก ำลังคนของประเทศ
2) กระจายสัดส่วนบุคลากรสุขภาพทั้งในเขตเมืองและชนบทให้มีความสมดุลกัน
3) ธำรงรักษากำลังคนด้านสุขภาพ
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
4.ระบบบริหารจัดการ (Governance Excellence)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลงและยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดอย่างอย่างมีธรรมาภิบาล ระบบบริหาร
จัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม ตรวจสอบได้
เป้าหมายการพัฒนา
1) วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพโดยไม่มีความเหลื่อมล้ำของคุณภาพบริการในแต่ละระบบ
2) มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
3) สร้างและพัฒนากลไกการดุลด้านการเงินการคลังสุขภาพ
4) มีระบบเทคโนโลยีดิจิตอลด้านสุขภาพ
5) มีการทำวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
แผนงานที่ 4 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 5 การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
ในปี พ.ศ. 2562 เน้น 5 เรื่องสําคัญ
1.การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
2.การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) และระบบการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ
3.การพัฒนาโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะรักษาวัณโรคปอดรายใหม่
4.การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ (HRH Transformation)
5.การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (Digital Transformation)
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
เป้าหมาย
1.ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มี ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
2.คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดีลดการตายก่อนวัยอันควร
3.เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการใด้อย่างสะดวกเหมาะสม
4.มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติ ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักการของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
1.ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
3.ยืดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี ๒๕๗๙ ควบคู่กับกรอบเป้าหมายการที่ยั่งยืน (SDGS)
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพเพื่อคนไทยสุขภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
กลไกการอภิบาลระบบสุขภาพในระดับชาติและธรรมาภิบาลไม่ชัดเจน
มีการเพิ่มขึ้นของโครงสรา้งประชากรเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างรวดเร็วจากการเกิดและภาวการณ์ตายลดลง
รูปแบบภาวะโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อ ไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังข้อมูลข่าวสารและการวิจัยยังไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เพียงพอ
ปัญหาสุขภาพ/โรคจากอุบัติเหตุ
ภัยพิบัติและภัยสุขภาพ
ปัญหาในด้านการเงิน การคลัง ความรูด้านสุขภาพของประชาชนการจัดการกําลังคนด้านสุขภาพยังไม่เพียงพอ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรมลดความเลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(ด้านสาธารณสุข)
เป้าหมาย
"ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน”
กําหนดแผนเป็น 4 ระยะ
1.การปฏิรูประบบสุขภาพ
2.เป็นการสร้างความเข้มแข็ง
3.ดําเนินการให้เกิดความยั่งยืน
4.เมื่อสิ้นแผนในปี 2579 ประเทศไทยจะเป็นผู้นําด้านการแพทย์และสาธารณสุขในปี 2579 ประเทศไทยจะเป็นผู้นําด้านการแพทย์และสาธารณสุข1 ใน 3 ของเอเชีย
องค์ประกอบในการจัดบริการสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
การป้องกันการเจ็บป่วยและการป้องกันโรค (Illness | Disease Prevention)
การรักษาพยาบาล (Curation)
การจำกัดความพิการ (Disability Limitation)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation)
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
เข้าถึงได้ (Accessibility)
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ Acceptability)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
มีความเสมอภาค (Equity)
มาตรการทางสาธารณสุข
1.มาตรการทางการศึกษา(Educational approach) แบ่งเป็น 3 แบบตามลักษณะงาน
สุขศึกษาในโรงเรียน
(School health education)
สุขศึกษาในสถานบริการสาธารณสุขหรือสุขศึกษาในโรงพยาบาล (Hospital health education)
สุขศึกษาในชุมชน
(Community health education)
2.มาตรการทางกฎหมาย (Regulatory approach) การใช้กฎหมายหรือ ระเบียบข้อบังคับเพื่อใช้ปฏิบัติในการควบคุมป้องกันโรคหรือสิ่งต่าง ๆที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
3.มาตรการทางการบริการสุขภาพ Health service approach) รัฐจัดบริการอนามัยด้านต่างๆ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ให้การรักษาเมื่อเจ็บป่วย และฟื้นฟูสุขภาพ ให้แก่ประชาชน
นางสาวสุรีรัตน์ เผ่าหอม เลขที่ 71 นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 26 ห้อง B