Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพและสาธารณะสุขของชาติ, นางสาววชิราภรณ์ ทัศคร เลขที่66 ชั้นปีที่3…
ปัญหาสุขภาพและสาธารณะสุขของชาติ
รายงานสถานการณ์เด่นด้านสุขภาพของคนไทย 10 ประเด็น
1.ฝุ่นละออง PM2.5
2.การแบนสามสารเคมีการเกษตร
3.วิกฤตขยะพลาสติกในทะเลปลุกคนไทยลดขยะพลาสติก
ภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน
นโยบายกัญชาเสร
การควบคุมโรงพยาบาลเอกชน
บุหรี่ไฟฟ้า
รับมือสังคมสูงวัย
กระแสนิยมเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ
อีสปอร์ต
นโยบาย แผนพัฒนาสาธารณสุข และการปฏิรูประบบสุขภาพของชาติ
แผนพัฒนาสุขภาพและการปฏิรูประบบสุขภาพ นโยบายสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2562 เน้น 5 เรื่องสําคัญ เพื่อประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข
1.การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)และระบบการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ เพื่อลดค่าใช้จ่าย
ด้านยา ลดการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยา
การพัฒนาโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ ให้มีอัตราความสําเร็จในการ
รักษาผู้ป่วยมากกว่าร้อยละ 85 ให้วัณโรคหมดไปจากประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ (HRH Transformation)
การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (Digital Transformation)
แผนพัฒนาสุขภาพและการปฏิรูประบบสุขภาพฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564)
คนไทยทุกคนมีคุณภาพสามารถปรับตัวรองรับ
สังคมสูงวัยและบริบทการพัฒนาในอนาคต
สังคมมีความเหลื่อมล้ําน้อยลง
มีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและแข่งขันได้
รักษาทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมีความมั่นคงอาหาร พลังงาน และน้ํา
มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัยสามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย
มี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ ที่ มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ก ร ะ จ า ย อํ า น า จ แ ล ะ มี ส่ วน ร่ ว ม จ า กประชาชน
สาระสําคัญของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12
4 Excellence Strategies
1.ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ
แผนที่1การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
แผนที่2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แผนที่3 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนที่4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
2.บริการเป็นเลิศ
แผนที่5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
แผนที่6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แผนที่7 การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนที่8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ
แผนที่9 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ
แผนที่10 ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณะสุข
3.บุคลากรเป็นเลิศ
แผนที่11 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
4.บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมมาภิบาล
แผนที่12 การพัฒนาระบบธรรมมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่13 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
แผนที่14 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
แผนที่15 การพัฒนาการวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
แผนที่16 การปรับโครงวสร้างและพัฒนากฏหมายด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ชาติ20ปีด้านสาธารณะสุข
เป้าหมายคือ ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
มาตรการทางสาธารณสุข
มาตรการทางการศึกษา (Educational approach)
วิธีการให้สุขศึกษา (Health education) ซึ่งเป็นกระบวนการให้ความรู้ด้านสุขอนามัยประชาชน
มาตรการทางกฎหมาย (Regulatory approach)
ใช้กฎหมายหรือ ระเบียบข้อบังคับเพื่อใช้ปฏิบัติในการควบคุมป้องกันโรคหรือสิ่งต่าง ๆที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
มาตรการทางการบริการสุขภาพ (Health service approach)
รัฐจัดบริการอนามัยด้านต่างๆให้แก่ประชาชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
องค์ประกอบในการจัดบริการสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
การป้องกันการเจ็บป่วยและการป้องกันโรค (Illness | Disease Prevention)
การรักษาพยาบาล (Curation)
การจำกัดความพิการ (Disability Limitation)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation)
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
เข้าถึงได้ (Accessibility)
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (Acceptability)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
มีความเสมอภาค (Equity)
นางสาววชิราภรณ์ ทัศคร เลขที่66 ชั้นปีที่3 รุ่นที่26 ห้อง B