Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.91723 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร (โดย รศ.ดร…
8.91723 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
(โดย รศ.ดร.เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ)
8.3 สถิตินอนพาราเมตริกเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.3.2 สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม
การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
ข้อมูลแบบนามมาตร
ข้อมูลแบบอันดับมาตร
การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน
Mann-Whiney U Test (M-W)
Kolmokorov-Smirnov
Wald-Wolfowitz Test
Moses Extreme Reactions Test
8.3.3 สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับกลุ่มตัวอย่างมากกว่า
สองกลุ่ม
กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มที่มีเป็นอิสระต่อกัน
8.3.1 สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะหืกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว
การทดสอบทวินาม
การทดสอบไคสแควร์
การทดสอบ Kolomogorov-Smirnov
8.1 การใช้สถิติพรรณาเพื่อการวิจัยและพัฒนาการเกษตร
8.1.2 การใช้สถิติพรรณาในการวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ประเภทของการวิจัยเชิงสัมพันธ์
การวิจัยเปรียบเทียบผลเพื่อศึกษาสาเหตุ
การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์
การศึกษารายกรณี
8.1.3 การใช้สถิติพรรณาในการวิจัยเชิงพัฒนา
รูปแบบของการวิจัยและพัฒนาทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
งานวิจัยเพื่อเตรียมรองรับปัญหาในระยะปานกลางถึงระยะยาว
งานวิจัยและพัฒนาซึ่งนำไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
งานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
งานวิจัยเพื่อขยายผลการวิจัย
ขั้นตอน
ขั้นตอนการวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์
การวางแผนหรืออกแบบ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนการพัฒนา
การพัฒนาต้นแบบ
ทดลองหรือทดสอบ
ขั้นตอนการเผยแพร่และส่งเสริม
8.1.1 การใช้สถิติพรรณาในการวิจัยเชิงสำรวจ
ความหมายของสถิติ
ตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริงของสิ่งที่นักวิจัยสนใจ เช่น คะแนน อายุ รายได้ เป็นต้น
ความหมายของสถิติเชิงพรรณา
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมมา โดยนำมาบรรยายถึงลักษณะของข้อมูลที่เก็บมาได้ แสดงในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง ข้อความ แผนภูมิ
เพื่อค้นคว้าและสำรวจ
เพื่อพรรณาหรือบรรยาย
การวิจัยเชิงสำรวจ หมายถึง การวิจัยที่เน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
เพื่อค้นหาสาเหตุหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เพื่อพรรณาหรือบรรยาย
เพื่อค้นคว้าสำรวจ
ประเภท
จำแนกตามวัตถุประสงค์การสำรวจ
จำแนกตามระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้แบบสอบถาม
โดยการสัมภาษณ์
จำแนกตามกลุ่มที่ทำการวัดในการวิจัย
8.2 ประเภทของสถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.2.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย คือค่ากลางที่หาจากผลรวมของข้อมูลทุกค่าแล้วหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด
มัธยฐาน
ค่าที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลเมื่อจัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย
ฐานนิยม
ค่าของข้อมูลที่มีความถี่ซ้ำกันมากที่สุดหรือความถี่สุงสุด ข้อมูลบางชุดอาจไม่มีฐานนิยมหรือมีมากกว่า 1 ค่า
8.2.3 การวัดการกระจายของข้อมูล
ค่าพิสัย
ค่าสูงสุด-ค่าต่ำสุด
ค่าส่วนเบียงเบนควอไทล์
ครึ่งหนึ่งของความแตกต่างระหว่างควอไทล์ที่3 และค่าควอไทล์ที่1 ของข้อมูลทั้งชุด
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าที่ใช้วัดความแตกต่างโดยเฉลี่ยระหว่างค่าแต่ละค่าค่าเฉลี่ยของข้อมูลนั้น
8.2.1 การแจกแจงความถี่
สูตรหาค่าร้อยละ คือ จพนวนข้อมูลในแต่ละค่า/จำนวนข้อมูลทั้งหมด*100