Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ อายุ 32 ปี LBMI G1P0A0 GA 31wks 6 day by ultrasound - Coggle…
หญิงไทย อายุ อายุ 32 ปี LBMI G1P0A0 GA 31wks 6 day by ultrasound
Case : ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
มีประวัติการผ่าตัด cyst ที่บริเวณเต้านมด้านขวา
เมื่อปี พ.ศ.2554
Case : ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ก่อนต้้งครรภ์ความสูง 156 cm น้ำหนกัก่อนต้งัครรภ์ 44 kg BMI 18.08 kg/m2 ดัชนีมวลกายนอ้ยกวา่เกณฑ์
ปฏิเสธการเจ็บป่วยของสมาชิกครอบครัว
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยา อาหารหรือสารเคมี
Case : ประวัติการต้ังครรภ์ปัจจุบัน
ที่ฝากครรภค์ร้ังแรก24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
อายุครรภ์12 สัปดาห์ 1 วัน สถานที่ โรงพยาบาลทุ่งสง
G1P0A0
LMP ประมาณปลายเดือน สิงหาคม พ.ศ 2563(จำวันที่แน่นอนไม่ได้)
EDC (by ultrasound) 5 มิถุนายน พ.ศ.2564
รู้สึกถึงการดิ้นคร้ังแรกของเด็กวนั ที่6 มกราคม พ.ศ.2564 ( 18 week 2 day)
Case : ยาที่ใช้ระหว่างตั้งครรภ์
CaCo3
Obimin AZ
Case : ประวัติน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 4 เดือน น้ำหนัก 46 kg
อายุครรภ์ 5 เดือน น้ำหนัก 48 kg
อายคุรรภ์ 3 เดือน น้ำหนัก 45.3 kg
อายุครรภ์ 6 เดือน น้ำหนัก 48.2 kg
ปัจจุบันน้ำหนัก 51.4 kg ส่วนสูง 156 cm
อายุครรภ์ 7 เดือน น้ำหนัก 51.4 kg
Case : ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติการได้รับ Tetanus Toxoid
ได้รับครบทั้งสามเข็ม
ประวัติการวางแผนครอบครัว
ไม่ไดมีการวางแผนครอบครัวก่อนมีบุตร ปฏิเสธการคุมกำเนิดในอดีต
ประวัติประจำเดือน
มีประจำเดือนคร้ังสุดท้ายประมาณปลายเดือนสิงหาคม
ประจำเดือนมาคร้ังแรกตอนอายุ15 ปี
ประจำเดือนจะมาประมาณปลายเดือน วัน ที่25-27มาไม่สม่ำเสมอมานานคร้ังละ 7วน
ขณะมีประจำเดือนจะมีอาการปวดทอ้งเล็กนอ้ย
Case : การตรวจร่างกาย
วัดระดับของยอดมดลูกได้ 2/4 เหนือระดับสะดือ หรือ 29 เซนติเมตร
ส่วนนำเป็นศีรษะ
ขนาดหน้าท้องเล็ก ไม่มีรอยแผลเป็น
ฟังเสียงหัวใจทารกเท่ากับ 135 bpm จังหวะสม่เสมอ
มารดาใหข้อ้มูลวา่ทารกดิ้นมากกวา่ 10 คร้ัง/วัน (2/4=0=(29cm) OL FHS 135 bpm ทารกดิ้นดี)
การฝากครรภ์คุณภาพ
ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
การนัดครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 3 เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์ +2 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 4 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ +2 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 5 เมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ +2 สัปดาห์
การนัดครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 18 สัปดาห์ +2 สัปดาห์
การวางแผนครอบครัวก่อนตั้งครรภ์
•ตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์
•เสริมกรดโฟลิกเตรียมพร้อมก่อนตั้งครรภ์
•ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
•ควบคุมน้ำหนักอย่างเหมาะสม
•กินอาหารให้หลากหลายและมีประโยชน์
•งดการใช้ยาบางประเภท เช่น ยาคุมกำเนิด
•เลิกพฤติกรรมเสี่ยงเช่นการดื่มแอลกอฮฮล์
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
•BMI < 18.5kg/m2 (underweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 12.5-18 kg (ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
•BMI 18.5-24.9kg/m2 (normal weight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 11.5-16 kg (ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
•BMI 25-29.9kg/m2 (overweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 7-11.5 kg (ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
•BMI ≥30kg/m2(obese) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 5-9 kg (ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
ความสูงของยอดมดลูกกับขนาดทารกในครรภ์
•อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 1/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
•อายุครรภ์16 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงประมาณ 2/3 เหนือกระดูกหัวหน่าว
•อายุครรภ์20 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ระดับสะดือ
•อายุครรภ์24 สัปดาห์ ยอดมดลูกจะสูงกว่าระดับสะดือเล็กน้อย
หากระดับยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กันอายุครรภ์บ่งบอกถึง ทารกในครรภ์มีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR)
•อายุครรภ์28 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 1/4 เหนือระดับสะดือ
•อายุครรภ์36 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 3/4 เหนือระดับสะดือ
•อายุครรภ์32 สัปดาห์ ยอดมดลูกอยู่ 2/4 เหนือระดับสะดือ
ตรวจการตั้งครรภ์ 4 ท่า
1.First maneuver (Fundal grip) เป็นการคลำส่วนยอดของมดลูกเพื่อตรวจหาระดับยอดมดลูก
2.Second maneuver (Umbilical grip) เป็นการคลำเพื่อตรวจหาหลังของทารกว่าอยู่ด้านใด
3.Third maneuver (Pawlik’s grip) เป็นการ ตรวจครรภ์ โดยการคลำเพื่อตรวจหาส่วนนำ (presentingpart) และ attitude ของ ทารก ในครรภ์
4.Fourth maneuver (Bilateral inguinal grip) การคลำเพื่อตรวจหาระดับของส่วนนำ และทรงของ ทารก ในครรภ์