Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก - Coggle Diagram
บทที่3 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ความหมาย
เป็นการตั้งครรภที่ผิดปกติโดยตวัอ่อน
และรกไม่เจริญตามปกติเซลล์ของรกกลายเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง เนื้อรกนี้อาจจะเป็นถุงน้ำขนาดเล็กที่ไม่มีทารกหรือเนื้อเยื่อของทารก เรียกว่า complete (classic) hydatidiform moleถ้ามีทารกหรือเยื่อของทารกร่วมอยู่ด้วยเรียกว่า incomplete (partial) hydatidiform mole
พยาธิสรีรวิทยา
ตามปกติแล้วภายหลังการปฏิสนธิกันระหว่างไข่กับเชื้อออสุจิจะมีการเจริญเป็นตัวอ่อน ซึ่งตัวอ่อนนี้จะมีการพฒันาต่อไปเป็นรกและเป็นตัวทารกกแต่การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกเกิดจากเซลล์ส่วนที่จะเป็นรก
นั้น มีการเจริญเติบโตผิดปกติส่วนเซลล์ส่วนที่จะกลายเป็นตัวทารกกลับตายไป จึงเหลือแต่ส่วนที่เป็นรก และรกนั้นมีการสร้างถุงน้ำขึ้นมาอย่างมากมาย มองเห็นเป็นเม็ดใส ๆ คล้ายไข่ปลา
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
สาเหตุไม่ทราบแน่ชด
1.อายุการตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 15 ปี และมากกว่า 45 ปี จะมีความเสี่ยงสูง
2.ผู้ที่มีประวัติเคยตั้งครร๓์ไข่ปลาอุกมาก่อน มีโอกาสการเกิดเป็นซ้ำ ของโรคนี้ถึง16เท่าของหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เคยเป็นโรคนี้มาก่อน
ภาวะโภชนาการ จากการศึกษาพบว่าการรับประทานแคโรทีนน้อย และมีภาวะพร่องวิตามินเอจะเพิ่มอุบัติการณ์การตั้งครรภ์ไ์ข่ปลาอุกชนิดการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกแบบสมบูรณ์
ผู้มีประวัติประจำเดือนไม่สม่ำเสมอและประวัติการใช้ยาคุมกำเนิดแบบรับประทานพบว่าเป็นปัจจยัเสี่ยงของการเกิดการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกชนิดที่มีทารกหรือส่วนของทารกปนอยู่ดว้ย
5.อื่นๆ เช่น การสูบบุหรี่ กรรมพนัธุ์เชื้อชาติเผ่าพันธุ์และสภาพทางเศรษฐกิจ
อาการและอาการแสดง
มีประวัติขาดประจำเดือน
เลือดออกทางช่องคลอด อาจจะออกกะปริบกะปรอย หรือออกมามาก ลักษณะของเลือดที่ออกอาจจะเป็นสีน้ำตาลเขม้คล้ายน้ำ ลูกพรุน (prune juice) มากกว่าสีแดงสด
ขนาดของมดลูกอาจจะโตกว่าอายุครรภ์ หรือขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์
มีภาวะอาเจียนรุนแรง (hyperemesis gravidarum) ซึ่งเป็นผลจากระดับฮอร์โมน β hCG มากกว่า 100,000 mIU/ml(ปกติระหว่างการตั้งครรภ์มีระดับฮอร์โมน β hCG ระหว่าง 50,000 –100,000 mIU/ml ในระยะไตรมาสที่หน่ึงของการตั้งครรภ์)
มีอาการแสดงของพิษแห่งครรภ์ก่อนอายุครรภ์24 สัปดาห์ได้แก่อาการบวม ความดันโลหิตสูง
6.คลำหน้าท้องไม่พบส่วนของทารกและฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
7.อาจพบรกที่แท้งออกมามีลักษณะเหมือนไข่ปลาหรือพวงองุ่น ส่วนใหญ่พบในช่วงอายุครรภ์16- 18 สัปดาห์ และไม่เกิน 28 สัปดาห์
มีภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (hyperthyroidism) พบประมาณร้อยละ 7 ในกลุ่ม complete moleเนื่องจาก β hCG ไปจับ TSH receptor และกระตุ้นให้มีการสร้าง thyroid hormone มากกว่าปกติ
มีถุงน้ำ รังไข่(theca lutein cyst) พบได้ประมาณครึ่งหนึ่งของกลุ่ม complete mole พบถุงน้ำ รังไข่ขนาดมากกว่า 6 ซม.
การวินิจฉัย
ประวัติอาการ อาการแสดง
จากการตรวจร่างกาย
จากการตรวจห้องปฏิบัติการ
3.1 การตรวจหาระดับความเข้มข้นของ Human Chorionic Gonadotropin (βhCG) ในเลือดหรือในปัสสาวะ
3.2 ตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์เนื่องจากภาวะครรภ์ไข่ปลาอุกอาจพบ ภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (hyperthyroidism)
จากการตรวจพิเศษ
4.1การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
4.2 พิจารณาเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจโครโมโซม ในกรณีที่ไม่แน่ใจในการวินิจฉัย partial hydatidiform mole
4.3 การตรวจรังสีวินิจฉัยของปอด
การรักษา
การใช้เคมีบำบัดเพื่อป้องกัน
การทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
2.1 การดูดเอาเนื้อรกออกพร้อมกับขูดมดลูก
2.2 การขูดมดลูกจะทำเฉพาะรายที่มดลูกมีขนาดเล็กและแท้งรกออกเกือบหมด
2.3 การผ่าตัดเข้าในโพรงมดลูก (hysterotomy)
2.4 การตัดเอามดลูกออก (hysterectomy)
3.การติดตามเพื่อควบคุมและรักษาการเกิดมะเร็ง
3.1 การตรวจหาระดับ β hCG เป็นระยะ ๆ
3.1.1 ตรวจทุกสัปดาห์จนระดับ β hCG
3.1.2 ถ้าระดับ β hCG ลดลงแล้ว ให้ตรวจทุก 1-2 เดือนอีก 6 เดือน
3.1.3 ตรวจทุกเดือนเป็นเวลา 12 เดือน
3.2 ตรวจภายในหลังจากขูดมดลูก 1 และ 4 สัปดาห์
3.3การคุมกำเนิด การคุมกำเนิดที่ดีที่สุด