Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ 22 ปี BMI 33.5 kg/m2 G3P1A1 GA 39+5 wks by U/S,…
หญิงไทย อายุ 22 ปี BMI 33.5 kg/m2 G3P1A1 GA 39+5 wks by U/S
(Gestational Diabetes Mellitus : GDM)
เริ่มวินิจฉัยได้ตั้งแต่ต้นไตรมาสที่ 3 หรือ ช่วง 24-28 สัปดาห์
การแบ่งเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 30 ปี
BMI>27-30
ประวัติญาติสายตรงเป็นเป็นเบาหวาน
baby that weighed more than 4,000g
history: birth defect, DFIU
High blood pressure and preeclampsia
polyhydramnios
มีประวัติเด็กตายไม่ทราบสาเหตุ
A previous diagnosis of GDM,IGT
การตรวจคัดกรอง
50 g GCT
ขั้นตอน
เจาะเลือดหลังกิน Glucose 50g ที่ 1 ชม ไม่ต้อง NPO
การแปลค่า
plasma glucose มากกว่าหรือเท่ากับ 140 mg/dl = ผิดปกติ
การตรวจวินิจฉัย
100 g OGTT
ขั้นตอน
NPO 8-14 ชม เพื่อมาเจาะ FBS หลังจากนั้นกิน Glucose 100 g แล้วเจาะเลือดซ้ำที่ชั่วโมงที่ 1,2,3 หลังกินน้ำตาล
การแปลค่า
ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่า FBS ปกติ ---> GDM A2
Diet control และนัดติดตามค่า FBS และ 2 hs pp ทุก 1-2 ชม ---> GDM A2
ิดปกติ 2 ค่า ขึ้นไป แต่ FBS มากกว่าปกติ ---> GDM A2
ผลกระทบ
ด้านมารดา
แท้ง
Hypoglycemia
เจ็บคลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
น้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ติดเชื้อได้ง่าย
Diabetic ketoacidosis
คลอดยาก
ม่ีโอกาส C/S
มีโอกาสเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ซ้ำ
ด้านทารก
พิการแต่กำเนิด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตัวโต
เพิ่มอัตราการคลอดติดไหล
ทารกโตช้าในครรภ์
บาดเจ็บจากการคลอดทางช่องคลอด
อัตราการเกิด RDS สูง
Neonatal hypoglycemia
Polycythemia
hyperbilirubinemia
การตายของทารกหลังคลอด
การตรวจติดตามระดับน้ำตาล
เป้าหมายในการรักษา
ค่า Fasting blood glucose น้อยกว่า 95 mg/dL
ก่อนรับประทานอาหาร น้อยกว่า 100 mg/dL
ค่า 1 hour postprandial blood glucose น้อยกว่า 140 mg/dL
ค่า 2 hour postprandial blood glucose น้อยกว่า 120 mg/dL
ช่วง 02.00-06.00 น. มากกว่า 60 mg/dL
ค่า HbA1C < 6
การควบคุมระดับน้ำตาล
การควบคุมอาหารและออกกำลัง
BMI 20-25 kg/m2 ควรได้รับพลังงาน 30 กิโลแคลอรี/กก/วัน
BMI 25-34 kg/m2 ควรได้รับพลังงาน 25 กิโลแคลอรี/กก/วัน
BMI >34 kg/m2 ควรได้รับพลังงาน 20 กิโลแคลอรี/กก/วัน
การรักษาด้วยอินซูลิน(Insulin)
short-acting ขนาดโดยทั่วไป 20-30 ยูนิตต่อวัน
NPH insulin(Insulatard, Humulin I
ไตรมาสแรก ใช้ประมาณวันละ 0.7-0.8 ยูนิต/กก./วัน
ไตรมาสที่สอง ใช้ประมาณวันละ 0.8-1.0 ยูนิต/กก./วัน
ไตรมาสที่สาม ใช้ประมาณวันละ 0.9-1.2 ยูนิต/กก./วัน
WHO PARTOGRAPH
เป็นการแสดงแนวโน้มความก้าวหน้าของการคลอดที่ปกติและผิดปกติเพื่อช่วยในการตัดสินใจส่งต่อผู้คลอดได้ตั้ง แต่เนิ่นๆหรือดำเนินการช่วยเหลือได้อย่างทันทีทันใด
องค์ประกอบ Portograph มี 4 องค์ประกอบ
fetal condition
progression of labor
drug and treatment
maternal condition
ความผิดปกติรูปแบบการคลอด
Prolong disorders
1.2 Protracted active phase dilatation
การเปิดขยายของปากมดลูกข้ากว่า 1.2 cm / hr ในครรภ์แรกหรือช้ากว่า 1.5 cm / hr ในครรภ์หลัง | ในระยะ Phase of maximum slope หรือระยะ Active ยาวนานกว่า 12 hr
1.3 Protracted descent
การที่ส่วนนำของศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงช้ากว่า 1 cm / hr ในชั่วโมงแรกและช้ากว่า 2 cm / hr ในครรภ์หลัง
1.1 Prolong latent phase
ระยะการคลอดยาวนาน 20 hr ครรภ์แรก, ครรภ์หลัง 14 hr Protraction disorder
Arrest disorder
2.1. Prolong deceleration phase
ระยะลดลงมากกว่า 3 ชมในครรภ์แรกมากกว่า 1 ชมในครรภ์หลัง
2.2 Secondary arrest of dilatation
ปากมดลูกไม่เปิดขยายอีกต่อไปนานเกิน 2 hr ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
2.3 Arrest of descent
ส่วนน้ำไม่เคลื่อนต่ำลงมาอีกเลยนากนเกินกว่า 1 hr ในครรภ์หลังและ 2 ชั่วโมงในครรภ์แรก
2.4 Failure of descent
ส่วนนำไม่มีการเคลื่อนตำระดับส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงมากกว่าระดับ ischia spine (station 0)
Electromic fetal monitoring
หัวตรวจ มี 2 แบบ
tocometer ไม่ใช้เจล
วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ultrasonic transducer ใช้เจล
วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารก เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก
NST
เป็นการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ อาศัยหลักการดู ความสัมพันธ์ของ fetal heart rate กับ Fetal movement
ใช้ในระยะตั้งครรภ์ตอนไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
Baseline features (ในช่วงที่มดลูกไม่หดรัดตัว)
อัตราการเต้นของหัวใจทารก Baseline fetal heart rate ปกติ 110 – 160 ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
CST
เป็นการดูความทนต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนของทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว เพื่อคัดกรองความเสี่ยงที่เลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกพอหรือไม่ หรือมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 3 ครั้ง ใน 10 นาที
ใช้ในกรณีที่เข้าสู่ระยะคลอดในขณะที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
ข้อบ่งชี้
• ตั้งครรภ์เกินกำหนด
• ทารกเติบโตช้าในครรภ์
• มารดาเป็นเบาหวาน
• มารดามีประวัติความดันโลหิตสูง
• มารดาเป็นโรคโลหิตจาง
• มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
• ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
กรณีที่ทำ NST แล้ว เกิด Non-reactive 2 รอบ ต้องทำ CST
ผิดปกติตรวจวินิฉัยด้วย 100 g OGTT