Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดช่วงชั้นทางสังคม - Coggle Diagram
บทที่ 7 การจัดช่วงชั้นทางสังคม
หลักสําคัญ 4 ประการ ของการจัดช่วงชั้นทางสังคม
การจัดช่วงชั้นทางสงคมเป็นลักษณะของสังคม ไม่ใช้เป็นเพียงการสะท้อนความแตกต่างระหว่างบุคคล
การจัดช่วงชั้นทางสงคมมีการสังต่อจากรุ่นสู่รุ่น
ทุกสังคมมีการจัดช่วงชั้นทางสังคม แต่แตกต่างกันในรูปแบบและรายละเอียด
การจัดช่วงชั้นทางสังคมเกี่ยวข้องกับความเชื่อด้วย
เกณฑ์ในการจัดช่วงชั้นทางสังคม
ความมั่งคั่ง
งานที่ทําหรืออาชีพ
ระดับการศกษา
ชาติกําเนิด
ตําแหน่งหรืออํานาจ
ชื่อเสียง
เกียรติภูมิยศศักดิ์
ศาสนา
ระบบปิดและระบบเปิด
ระบบปิด (Closed System) ยอมให้มีการเลื่อนชนชั้นทางสังคมได้น้อยมากหรือไม่ได้เลย
ระบบเปิด (Open System) อนุญาตให้มีการเลื่อนชนชั้นทางสังคมได้้
การเลื่อนชนชั้นทางสังคม (Social Mobility)
การเลื่อนชนตามแนวตั้ง -การเลื่อนชนในทางที่สูงขึ้น -การเลื่อนชนชั้นในทางที่ตํ่าลง
การเลื่อนชนในแนวแนวนอน -การเปลี่ยนอาชีพ -การย้ายถิ่นที่อยู่
ระบบการจัดช่วงชั้นทางสังคม
ระบบศักดินา
-การจัดช่วงชั้นทางสังคมที่สถานภาพหรือชั้นทางสังคมจะกําหนดจากสิทธิในการครอบครองที่ดิน
ระบบชนชั้น
-ระบบชนชนเปิดโอกาสทางสังคมมากกว่าระบบวรรณะ
-การแบ่งชั้นของผู้คนตามสีผิว เพศ หรือภูมิหลัง
-การประกอบอาชพก็ไม่ได้ถูกกําหนด แต่เป็นสิทธิที่แต่ละคนสามารถเลือกได้
ระบบวรรณะ
แต่ละวรรณะจะมีอาชีพของตนเอง
บุคคลต้องแต่งงานกับคนในวรรณะเดียวกัน
ระบบวรรณะสอนแนวทางการปฏิบัติตัวในชวิตประจําวัน
ระบบวรรณะอยู่บนความเชอทางวัฒนธรรมที่ทรงพลัง
วิธีการศึกษาชนชั้น
วิธีวัตถุวิสัย
วิธีอัตวิสัย
วิธีความเห็นส่วนใหญ่
ทฤษฎีความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม
1 ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่
2 ทฤษฎีความขัดแย้งทางสังคม
2.1 ฐานะทางเศรษฐกิจ
2.2 สถานภาพ
2.3 อํานาจ
3ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์
ทุกคนตระหนักดีว่า การแต่งตัว รถที่ขับ หรืออาหารและเครื่องดื่ม บอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับเงินในกระเป๋าและรสนิยมส่วนตัวของบุคคลนั้น