Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงพม่า อายุ37 ปีมารดา G3P2A0 GA40+4 wks by U/S, นางสาวอามานี กูบาเล๊าะ…
หญิงพม่า อายุ37 ปีมารดา G3P2A0 GA40+4 wks by U/S
Chronic Hypertension
ความหมาย
สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Preeclampsia หรือChronic hypertension with superimposed preeclampsia แล้ว ตลอดการตั้งครรภ์สิ่งสาคัญที่ต้องเฝ้าระวังคือการดาเนินโรคที่รุนแรงขึ้น หรือที่เรียกว่าการเกิด Severe featur
ปัจจัยเสี่ยง
อายุน้อยกว่า20ปีและอายุมากกว่า35ปี
ตั้งครรภ์ครั้งแรก
มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์มาก่อน
มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงในครอบครัว
ตั้งครรภ์แฝด
ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ทารกบวมน้ำ
มีโรคทางอายุรกรรม เช่น เบาหวาน
ดัชนีมวลกายมากกว่า30กิโลกรัมต่อตารางเมตร
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
สาเหตุ
การฝังตัวและการเจริญเติบโตของทารก ทำให้เกิดความแตกต่างของHuman leukocyte antigen (HLA) ระหว่างมารดาและทารก ทำให้รกไม่สามารถฝังตัวได้เหมาะสม cell รกขาดเลือด ทำให้ผลิต สารเคมี เช่น
sFit_1 , PIGF เพิ่มมากขึ้น
มีการเพิ่มขึ้นสารเคมีที่ทำให้หลอดเลือดหดรัดตัว ซึ่งสารเคมีจะเพิ่มตามอายุครรภ์ เช่น Tromboxan A2 ที่สร้างจากไตและเนื้อเยื่อของรก เพิ่มขึ้นมากกว่าprostacyclin ที่ผลิตจากเนื้อเยื่อของรก และผนังหลอดเลือด
ผลกระทบต่อมารดา
ตับ
เกิดการหดเกร็งของหลอดเลือดในตับ ทำให้เซลล์
ตับขาดเลือดและเกิดเนื้อตายทำให้มีอาการจุก
แน่นลิ้นปีหรือปวดชายโครงขวา
สมอง
อาจมีเลือดออกในสมอง
จากการแตกของหลอดเลือด
ระบบประสาทไวต่อการกระตุ้นทำให้เกิด
Hyper reflex เกร็ง และชัก
ไต
เลือดไปเลี้ยงไตน้อย ปัสสาระออกน้อย
อัตราการกรองเสียหน้าที่ มีโปรตีนรั่วใน
ปัสสาวะ
ระบบเลือดจากหลอดเลือดหดเกร็งและถูกทำลาย
เม็ดเลือดแดงแตก ทำให้ permeability สูงการเกิด plasma leak ส่งผลให้ Hctสูงขึ้น และอาการบวมทั่วตัวหลอดเลือดถูกทาลายส่งผลให้เกิดการ รวมตัวกันกันของเกร็ดเลือด ทำให้ในหลอดหนีด และเกิดลิ่มเลือดได้ง่าย เกิดภาวะ 0IC ได้ ทำให้เกร็ดเลือดในร่างกายต่าลง (Low
บวม
จากหลอดเลือดถูกทำลาย ทำให้ permeabilty สูง การเกิด plasma leak และการมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ ทำให้ albumin ในร่างกายต่ำ ทำให้บวมกดบุ๋ม
ตา
หลอดเลือดฝอยที่ตาหดเกร็ง
จอประสาทตาบวม
หัวใจ
ทำงานหนักจากการเพิ่มแรงต้านของหลอด
เลือดส่วนปลาย อาจทำให้เกิดหัวใจวาย
ปอด
เกิดภาวะบวมน้ำจากหลอดเลือดถูกทำลาย
รกลอกตัวก่อนกำหนด
รกขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดเนื้อตาย
รกเสื่อมจากรกขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดเนื้อตาย
ผลกระทบด้านทารก
Preterm labor
IUGR
MAS
DFIU
เกณฑ์การวินิจฉัยประเมินจากการเกิด
ภาวะผิดปกติอย่างน้อย 1 ข้อขึ้นไป
Systolic BP (SBP) Z 160 mmHg หรือ Diastolic BP (DBP) 2 110
mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Thrombocytopenia คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
Impairedliverfunctionคือ AST / ALTสูงกว่า2เท่าของค่าUppern ormallimitหรือมีอาการปวดจุกใต้ลิ้นปีรุนแรงและไม่หายไป (Severe persistence)
RenalinsufficiencyคือSerumcreatinine 21.1หรือมากกว่า2เท่าของคำSerumcreatinineเดิมโดยไม่มีโรคไตณ อาจพบปัสสาวะออกน้อยกว่า 400 ซีซี/วัน
Pulmonaryedema
มีอาการปวดศิรษะหรือตานร่ามัวที่เกิดขึ้นใหม่ reflex เร็วขึ้น
proteinuria>5grams/day
IUGR
ระยะที่2
เพศชาย น้ำหนักแรกคลอด 3,400 กรัม Apgar score 8,9,10
ได้รับ Vitamin K เพื่อช่วยในการแข็งตัวของเลือดเร็วขึ้น
ป้องกันเลือดออกผิดปกติ
ได้รับ Terramycin ป้ายตา
เพื่อป้องกันการติดเชื้อหนองใน
ทารกมี Caput succedaneum เป็นการบวมน้ำของเนื้อเยี่ออ่อนของหลังศีรษะ มีขอบเขตไม่ขัดเจนข้ามsuture จะหายเองภายใน2-3วัน อาจเกิดจากศีรษะทารกถูกกดขณะคลอด การเบ่งคลอดที่ไม่ถูกต้อง
ระยะที่3
คลอดรก
control cord traction
โดยการดึงสายสะดือเพื่อให้รกคลอดออกมาใช้มือข้างไม่ถนัดคลึงมดลูกส่วนบนให้แข็งและดันมดลูกส่วนบนไม่ให้เลื่อนลงมาใช้มือช้างที่ถนัดจับสายสะดือให้รกออกมาในแนวระนาบจนรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดออกมาหมด
ประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอด
คลอด Normal Labor bleeding ไม่เกิน 500 cc
ในเคสกรณีศึกษา มีbleed 200 cc
ส่งเสริมให้ทารกดูดนมมารดาตามหลัก 4 ดูด
ดูดเร็ว ควรให้ลูกดูดนมตั้งแต่หลังคลอดใหม่ๆ
ดูดบ่อย ทุก 2 ชั่วโมงหรืออย่างน้อยวันละ 9 ครั้ง จะช่วยกระตุ้นให้น้ำนมมาเร็วขึ้นและมีมากขึ้น
3.ดูดถูกวิธี คือลูกดูดลึกถึงลานนม เพื่อให้เหงือกลูกกดรีดลงบนกระเปาะน้ำนมใต้ลานนมลิ้นอยู่ใต้ลานนม ริมฝีปากของลูกไม่เมัมเข้า ขณะดูดเหงือกจะขยับเข้าหากันกดบนลานนมเป็นจังหวะ แก้มปองทั้งสองข้างและได้ยินเสียงกลืนน้ำนมเบาๆ
4.ดูดเกลี้ยงเต้า คือให้ลูกดูดนมแม่จนเต้านิ่มในเต้าแรก ถ้าไม่อิ่มให้ดูดนมแม่อีกข้างที่เหลือจนกว่าจะอิ่ม โดยมื้อต่อไปควรเริ่มจากเต้าที่ดูดค้างไว้
ระยะที่1
มีการคลอดที่ล่าช้า
ได้รับยา synto +0.9%NSS v drip rate 12 drop/min เพื่อช่วยในการคลอดโดยการเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก
Fully dilated
latent phase
7.30 3 cm
7.45 3cm
Active phase
9.00 4 cm
11.00 4 cm
11.45 9.cm
นางสาวอามานี กูบาเล๊าะ 61110581