Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การขัดเกลาทางสังคม - Coggle Diagram
บทที่5 การขัดเกลาทางสังคม
ความสำคัญของการขัดเกลาทางสังคม
ข้อจำกัดด้านชีวภาพ
ช่วงวัยเด็ก หรือวัยพึ่งพิงตอนต้น (แรกเกิด-15 ปี)
ช่วงวัยแรงงาน หรือวัยพึ่งพาตนเองได้ (อายุ 15-60 ปี)
ช่วงวัยชรา หรือวัยพึ่งพิงตอนปลาย (อายุ 60 ปีขึ้นไป)
ข้อจำกัดด้านการเข้าสังคม
จุดมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสังคม
สอนเรื่องระเบียบวินัยพื้นฐานของสังคม
สอนให้บุคคลรู้จักสถานภาพและบทบาททางสังคม
สร้างแรงบันดาลใจและความมุ่งหวังในชีวิตที่สังคมยอมรับ
สอนให้บุคคลมีความรู้ ทักษะ ความชำนาญในด้านต่างๆ
รูปแบบการขัดเกลาทางสังคม
1 การขัดเกลาทางตรง
2 การขัดเกลาทางอ้อม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขัดเกลาทางสังคม
ปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ภาษา
ตัวแทนการขัดเกลาทางสังคม
ครอบครัว
กลุ่มเพื่อน
โรงเรียนหรือสถานศึกษา
กลุ่มอาชีพ
ตัวแทนทางศาสนา
สื่อมวลชน
ประเภทของตัวแทนการขัดเกลาทางสังคมแบ่งตามประเภทของกลุ่มทางสังคม
กลุ่มปฐมภูมิ ได้แก่ ครอบครัว
กลุ่มทุติยภูมิ สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน
กลุ่มอ้างอิง เช่น นักร้อง นักแสดง หรือนักกีฬา
รูปแบบการขัดเกลาโดยครอบครัว
1) รูปแบบที่เข้มงวด
2) รูปแบบที่เป็นกลาง
3) รูปแบบที่ปล่อยอิสระ
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ (Basic Human Needs)
ความต้องการความผูกพันทางเพศและอารมณ์
แรงขับที่ก้าวร้าว
รูปแบบของบุคลิกภาพของ Freud (Freud’s Model of Personality)
1 id 2 ego 3 superego
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Jean Piaget
1 เป็นระดับการพัฒนาของมนุษย์ที่บุคคลเรียนรู้โลกผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น
2 เป็นระดับการพัฒนาของมนุษย์ซึ่งบุคคลเริ่มใช้ภาษาและสัญลักษณ์อื่นๆ
3 เป็นระดับการพัฒนาของมนุษย์ที่บุคคลเริ่มเห็นความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ รอบตัว
4 เป็นระดับการพัฒนาของมนุษย์ที่บุคคลสามารถคิดเชิงนามธรรมและเชิงวิพากษ์ได้
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของ Kohlberg
Preconventional Level
Conventional Level
Postconventional Level
พัฒนาการ 8 ขั้นตอนของ Erik H. Erikson
ขั้นที่ 1 ทารก – ความท้าทายของความไว้วางใจ
ขั้นที่ 2 วัยเตาะแตะ – ความท้าทายของการมีอิสระ
ขั้นที่ 3 ก่อนวัยเรียน – ความท้าทายในการริเริ่ม
ขั้นที่ 4 ก่อนเข้าสู่วัยรุ่น – ความท้าทายของความอุตสาหะ
ขั้นที่ 5 วัยรุ่น – ความท้าทายในการมีตัวตน
ขั้นที่ 6 วัยหนุ่มสาว – ความท้าทายของความใกล้ชิด
ขั้นที่ 7 วัยกลางคน – ความท้าทายในการสร้างความแตกต่าง
ขั้นที่ 8 วัยชรา – ความท้าทายของความสมบูรณ์ของอัตตา