Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง - Coggle Diagram
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง
ความหมาย
ภาวะหญิงตั้งครรภ์มีระดับความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง ต่ำกว่า 33% หรือฮีโมโกบินต่ำกว่า 11 g/dl ทุกไตรมาสของการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ร่างกายมีการสูญเสียไปกับการมีประจำเดือน ร่างกายได้รับธาตุเหล็กจากสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการนำไปใช้สร้างเม็ดเลือดแดง
ภาวะโลหิตจางจากการขาดโฟเลต
ร่างกายได้รับสารโฟเลตจากสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ในการนำไปสร้างเม็ดเลือดแดง
ระดับความรุนแรงของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางเล็กน้อย = จะแสดงเมื่อต้องใช้แรงมากๆ
ภาวะโลหิตจางปานกลาง = เหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น หายใจลำบาก
ภาวะโลหิตจางรุนแรง = เหนื่อยอ่อนเพลียตลอดเวลา ใจสั้น หนาวง่าย เหนื่อยอ่อนเพลียตลอดเวลา เบื่ออาหาร เจ็บหน้าอก ระดับออกซิเจนของทารกในครรภ์ลดลง
อาการและอาการแสดง
ซีด หน้ามืด เพลีย เหนื่อยง่าย ปวดศีรษะ ริมฝีปากหรือลิ้นอักเสบ ลิ้นเลี่ยน ลิ้นซีด แผลมุมปาก เบื่ออาหาร
ถ้าขาดธาตุเหล้กเรื้อรังจะแสดงอาการทางเล็บ
ผลกระทบของภาวะโลหิตจางต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
หากมีการตั้งครรภ์แฝด หรือเสียเลือดเล็กน้อยจะมีภาวะโลหิตจางอย่างมาก
หากพบภาวะโลหิตจางเมื่ออายุครรภ์น้อย มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักน้อย
หากพบภาวะโลหิตจางเมื่อครบกำหนดคลอด มารดาจะเสี่ยงการเสียเลือดสูง
ผลต่อทารก
ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนลดลง ทารกอาจแท้ง พิการ ตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักน้อย การเจริญเติบโตในครรภ์ช้า
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจระดับความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (ต่ำกว่า 33%) ฮีโมโกบิน (ต่ำกว่า 11 g/dl) สารเฟอริตินในเลือด (ต่ำกว่า 10-15 ไมโคกรัม)
การรักษา
รับประทานอาหารที่มีโฟเลตสูง รับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก เช่น ferrous sulfate 325 มก. วันละ 1-2ครั้ง
อาจให้ยา triferdine วันละ 1 เม็ด
หลักการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง
แนะนำไม่ให้รับประทานอาหารที่มีโฟเลตสูงและธาตุเหล็ก พบได้ในเนื้อแดงของเนื้อหมู เนื้อวัว เป็ด ไก่ ปลา เครื่องในสัตว์
อธิบายอาการข้างเคียงในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล้ก กาแฟ ผักรสฝาดต่างๆ อาหารที่แคลเซียม