Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อการด้วยข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อการด้วยข้อมูล
การสื่อสารด้วยข้อมูล
หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
การถ่ายทอดข้อมูลหรือการสื่อสารจากแหล่งข้อมูลไปยังผู้รับสารนั้นบางครั้งเป็นเรื่องที่ทำได้ยากเนื่องจากข้อมูลมีปริมาณมากหรืออยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย
ด้วยเหตุนี้การสื่อสารระหว่างบุคคลจำเป็นที่จะต้องจัดรูปแบบของข้อมูลและนำเสนอไปแสดงในบริบทที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจหรือมองเห็นประเด็นสำคัญที่ต้องการสื่อสาร
ข้อมูลนั้นจึงต้องมีการทำข้อมูลให้เป็นภาพเพื่อช่วยตอบคำถาม ช่วยในการตัดสินใจ ช่วยค้นหารูปแบบรวม ทั้งช่วยสนับสนุนคำพูดหรือการเล่าเรื่องราวที่มีอยู่ในข้อมูลชุดนั้นๆ
องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไปมี4ประการคือ
1.ผู้ส่งสาร ต้องเป็นผู้ที่มีความเข้ารหัส (Encode) เนื้อหาข่าวสารได้มีความรู้อย่างดีในข้อมูลที่จะส่งสามารถปรับระดับให้เหมาะสมสอดคล้องกับผู้รับ
2.สาร (Message) เนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่ง
3.ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ (channel) ให้ผู้รับได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล
1.การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว
2.ความถูกต้องของข้อมูล
3.ความเร็วของการทำงาน
4.ต้นทุนประหยัด
วัตถุประสงค์หลักของการนำการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย
-เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
-เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
-เพื่อลดเวลาการทำงาน
-เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
-เพื่อช่วยขยายการดำเนินการองค์การ
-เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายหลักการและจุดประสงค์ของการทำข้อมูลให้เป็นภาพ
เลือกใช้วิธีการทำข้อมูลให้เป็นภาพได้อย่างเหมาะสม
ข้อมูลที่รวบรวมได้นั้น ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของตารางที่ประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เป็นปริมาณมาก แม้ว่าข้อมูลนั้นสามารถตอบข้อสงสัย หรือนำเสนอสิ่งที่สนใจได้ แต่ยังยากต่อการทำความเข้าใจ หรือเป็นอุปสรรคในการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน
ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอข้อมูลให้เป็นภาพ
แผนภูมิรูปวงกลม สร้างโดยการเขียนรูปวงกลมและแบ่งวงกรมออกเป็นสัดส่วนตามจำนวนข้อมูล
แผ่นภูมิแท่ง (Bar Chart) แสดงความแตกต่งในเชิงปริมาณได้ชัดเจน ใช้แสดงปริมาณข้อมูลแต่ละส่วน
กราฟเส้น(Line Graph) แสดงมิติของการเปลี่ยนแปลงได้ดี โดยใช้พื้นที่แสดงข้อมูลแต่ละรายการน้อยกว่าแผนภูมิแท่ง ทำให้เสนอจำนวนรายการ
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
เป็นการถ่ายทอดเนื้อหา ความรู้ ผลลัพธ์จากข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพ
การนำเสนอเนื้อหาให้ประสบความสำเร็จ อาจใช้วิธีการนำเสนอ 4 รูปแบบ
2.แบบร้านกาแฟ เนื้อหาข้อมูลมีความยาวหรือรายละเอียดเยอะ
3.แบบห้องสมุด การนำเสนอ เนื้อหาให้ผู้อ่านมีปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหาและอยากศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจเชิงลึกมากขึ้น
1.แบบตู้กดน้ำ สรุปเนื้อหาที่มีปรืมาณมากให้เหลือแต่ใจความสำคัญ
4.แบบห้องทดลองได้รับประสบการณ์ จากการลงมือปฏิบัติจริงจึงต้องให้ผู้อ่านมีปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหาและสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์แบ่งปันสิ่งที่ตนเองทราบให้กับผู้อื่น
ข้อระวังในการนำเสนอข้อมูล
สิ่งที่ต้องคำนึงในการนำเสนอข้อมูล
1.ข้อมูลที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ ตรงตามวัสถุประสงค์ที่ต้องการนำเสนอ
2.สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ
3.รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
4.รูปที่นำมาใส่งานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
5.ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสมไม่มากไม่น้อยเกินไป
6.การใช้พื้นหลังควรหลีกเลี่ยงการใช้รูปภาพเป็นพื้นหลัง
สิ่งที่ไม่ควรทำในการนำเสนองาน
1.อาขยาน อ่านกระจุย
2.อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคอมฯ (และอุปกรณ์ทั้งหลาย)
3.อย่านอกเรื่องไปไกล
4.อย่าเยอะ
5.ใช้ตัวอักษรบนหน้าสไลด์ให้น้อยที่สุด