Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สมัยการก่อกำเนิดรัฐ-ชาติ - Coggle Diagram
บทที่ 6 สมัยการก่อกำเนิดรัฐ-ชาติ
สมัยรัชกาลที่ 6
นโยบายสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกันในสังคมโดยใช้หลักชาตินิยม
อุดมการณ์ชาตินิยม
ความเป็นเอกภาพของชาติ
ลักษณะเฉพาะที่เป็นอันหนึ่งอันเดียว
ความมีเอกราชของชาติ
สิ้นสมัยรัชกาลที่ 5
สยามพ้มจากการเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก
ขาดความเป็นเอกภาพของชาติ
ขาดจิตสำนึกของความเป็นชาติเดียวกัน
ทรงสร้างสัญลักษณ์บางประการ เพื่อให้เกิดรูปธรรมมากขึ้น
สร้างคำขวัญ เพื่อให้คนตระหนักถึงความรักชาติ ความจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตริย์ และความยึดมั่นในพระพุทธศาสนา
ทรงออกกฎหมายเพื่อสร้างความเป็นชาตินิยม
พระราชบัญญัตินามสกุล
พระราชบัญญัติประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7-12 ปี ต้องเข้าโรงเรียน
ประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติ
สงครามโลกครั้งที่ 1
ทรงส่งกองทัพเข้าร่วมโดยประกาศสงครามต่อเยอรมนี ออสเตรีย และฮังการี
แสดงถึงบทบาทของสยาม โดยหวังให้ชาติตะวันยอมรับการมีตัวตนของสยาม
ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
ทรงอนุรักษ์ความเป็นไทย
ศึกษาโบราณคดีด้วยพระองค์เอง
สถาปัตยกรรม
ทรงโปรดให้สร้างงานสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานความเป็นไทยและเป็นอาคารสาธารณประโยชน์
จิตกรรม
บันทึกพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของกษัตริย์ในราชวงศ์จักรีไว้ที่โอมพระที่นั่งอนันตสมาคมราชบริพาร
ตีพิมพ์บทความต่างๆตามหน้าหนังสือพิมพ์
สำนักพิมพิมพ์
ดุสิตสมัย
ดุสิตลักขี
ดุสิตสมิต
บางกอกการเมือง
เกราะเหล็ก
วายาโม
ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
สร้างโรงเรียนหลวงสอนนาฏศิลป์
ตั้งคณะละคร
สร้างโรงละคร
พระราชนิพนธ์บทละครพูด
ฉวยอำนาจ
เป็นเรื่องราวของนายทหารกลุ่มหนึ่งซึ่งเรียกตนเองกว่า “คณะกู้ชาติคอโรเนียน” ที่พยายามเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศให้เป็นระบบสาธารณรัฐ
ตั้งโรงเรียนประณีตศิลปกรรม(โรงเรียนเพาะช่าง)
จ้างชาวต่างชาติมาสอนศิลปะและวิทยาการแบบตะวันตก
สมัยรัชกาลที่ 7
คณะราษฎร มีพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นผู้นำ
เปลี่ยนรูปแบบการปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้เป็นแนวทางการพัฒนาสังคมไทยให้เป็นอารยะในอีกรูปแบบ
ชนชั้นกลางเข้ามามีส่วนร่วมทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ
เรียนรู้แนวคิดประชาธิปไตย
พัฒนาการทางสังคม
เหตุการณ์สำคัญหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
รัชกาลที่ 7 ทรงสละราชสมบัติในพ.ศ 2477 ขณะที่เสด็จรักษาพระเนตรที่ประเทศอังกฤษ
แย่งชิงอำนาจการปกครองระหว่างคณะราษฎรด้วยกันเองรวมทั้งเชื้อพระวงศ์ที่ไม่เห็นด้วยกับคณะราษฎร
รัฐเพื่อนบ้านต่างพยายามขับไล่เจ้าอาณานิคมให้ออกไปจากดินแดนของตน
สงครามโลกครั้งที่สอง
ญี่ปุ่นเข้ามาขับไล่เจ้าอาณานิคมออกไปจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชั่วคราว
รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ยอมให้กองทัพญี่ปุ่นใช้ไทยเป็นฐานในการโจมตีพม่าและมลายูใน พ.ศ. 2485
ประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษและสหรัฐอเมริกาซึ่งเท่ากับไทยประกาศตัวเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด(เยอรมันกับญี่ปุ่นแพ้)
ขบวนการเสรีไทยที่ถูกจัดตั้งขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้เจรจาให้ไทยได้รอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามครั้งนี้
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง
ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ในปี 2493
การเปลี่ยนแปลวัฒนธรรมครั้งสำคัญ
ครั้งแรก
การพัฒนาให้ทันสมัย
ครั้งที่สอง
ความเจริญวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ยุโรปเข้ามาเผยแพร่
ชาวยุโรปเข้ามามีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เป็นการเข้ามาค้าขาย
การพัฒนาให้ทันสมัยและการพัฒนาให้เป็นแบบตะวันตก จึงขยายเข้าไปสู่ดินแดนตอนใน
ผลดีที่เกิดจากการเข้ามาเผยแพร่ของวัฒนธรรมตะวันตก
ความเจริญทางการแพทย์และการศึกษาแบบใหม่
วัฒนธรรมตะวันตกได้ถูกมาเผยแพร่ประเทศไทย จำแนกเป็น 3 ประเภท
การปรับปรุงจารีต
การรับนวัตกรมมทันสมัย
การพัฒนาให้เป็นแบบตะวันตก
สมัยรัชกาลที่ 5
ด้านปฎิรูปการปกครอง
ยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์เปลี่ยนเป็นการแบ่งส่วนราชการส่วนกลางเป็นแบบกระทรวง
เสนาบดีเป็นผู้รับผิดชอบ ในส่วนภูมิภาคเปลี่ยนเป็นการปกครองแบบเทศาภิบาล
รวมหัวเมืองหลายหัวเมืองเข้าด้วยกันตั้งเป็นมณฑลและให้ขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย
ทรงจัดระบบกฎหมายและการศาลเลียนแบบตะวันตก
ทรงจัดตั้งกรมพระคลังมหาสมบัติและปฏิรูประบบการเก็บภาษีอากรแบบใหม่และเริ่มจัดทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรก
ทรงโปรดให้สร้างเครื่องมือสื่อสารและคมนาคมแบบสมัยใหม่ทั้งโทรเลขและทางรถไฟ
ทรงโปรดให้ทำบัญชีจำนวนประชากร
การนับจำนวนประชากรครั้งนั้น ครอบคลุมพื้นที่ในเขตบริหาร 12 จากทั้งหมด 17 มณฑล โดยให้แจกแจงว่าเป็นเพศใด ผู้ชาย ผู้หญิง อายุเท่าไหร่ และชาติพันธุ์อะไรบ้าง เรียกว่า "บัญชีพลเมือง"
ทรงจ้างชาวตะวันตกให้เข้ามาทำแผนที่เพื่อลดความขัดแย้งกับอังกฤษและฝรั่งเศส
ด้านสถานปัตยกรรม
ปรับปรุงกายภาพของกรุงเทพฯ ให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก
สถานปัตยกรรมระยะแรกมีลักษณะผสมผสานทั้งไทยและตะวันตก
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
สถานปัตยกรรมระยะต่อมาจึงสร้างเลียนแบบตะวันตก
โดยการจ้างสถานปนิกตะวันตกมาออกแบบก่อสร้างโดยตรง
พระที่นั่งอนันตสมาคม
พระที่นั่งวิมานเมฆ
พระที่นั่งรามราชนิเวศน์
พระที่นั่งวโรภาสพิมาน
ได้มีการบูรณะศิลปะแบบดั้งเดิมวัดวาอาราม
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ด้านงานจิตรกรรมและประติมากรรม
มีการจ้างช่างตะวันตกเข้ามารับราชการ
นำแนวคิด เทคนิคและวัสดุทั้งศิลปวิทยกรใหม่และกลายเป็นมาตรฐานความเป็นอารยะแบบใหม่ให้ชนชั้นนำ
อนุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้า