Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสาธารณสุข และนวัตกรรม กับ การพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
การสาธารณสุข และนวัตกรรม กับ
การพยาบาลอนามัยชุมชน
การสาธารณสุข (Public Health)
การจัดบริการสาธารณสุข
การอนามัยส่วนบุคคล เป็นความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเอง
การอนามัยส่วนชุมชน เน้นที่การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
หลักการสาธารณสุข
ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
ให้การดูแลประชาชนทุกกาวะสุขภาพคือ กาวะปกติ กาวะเสี่ยงและภาวะเจ็บป่วย
ให้การดูแลประชาชนในลักษณะองค์รวมของภาย จิด อารมณ์ สังคม และ จิตวิญญาณ
ให้การดูแลประชาชนโดยไม่เลือกชนชั้นวรรณะ
ใช้กลวิธีต่าง ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะให้ประชาชนมีความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ในระดับหนึ่ง
ประสานความร่วมมือทางด้นสังคมเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชน
การสาธารณ
กิจกรรมในการสาธารณสุขเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ด้านสุขภาพของประชาชน
เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะแห่งการป้องกันโรค
การทำให้ชีวิตยืนยาว การส่งเสริมสุขภาพ และความมีสมรรถนะ
ความสำคัญของการสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
การป้องกันการเจ็บป่วยและการป้องกันโรค (Disease
Prevention)
การรักษาพยาบาล (Curation)
การจำกัดความพิการ (Disability Limitation)
การฟื้นฟูสมรรรถภาพ (Rehabilitation)
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
เข้าถึงได้ (Accessibility)
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ (Acceptability)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency )
มีความเสมอกาค (Equity)
มาตรการทางสาธารณสุข
มาตรการทางการศึกษา แบ่งเป็น สุขศึกษาในโรงเรียน สุขศึกษาในโรงพยาบาล สุขศึกษาในชุมชน
มาตรการทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญติต่าง ๆ
มาตรการทางการบริการสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ
การพยาบาลอนามัยชุมชน
เป้าหมายมุ่งการดูแลและสงเคราะห์ผู้ที่ยากจนและด้อยโอกาสมากกว่าประชาชนทั้งหมดที่อยู่ในชุมชน
ปัจจุบันได้มีการขยายกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้บริการประชาชนทุกคนในชมชนครอบคลุมมิติการบริการสุขภาพที่สำคัญ 4 ประการ คือการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ด้านการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลและคณะพยาบาลศาสตร์ในหลายแห่ง ได้เปลี่ยนชื่อวิชาการพยาบาลสาธารณสุข ซึ่งจัดสอนในระดับวิชาชีพหรือระดับปริญญาตรี เป็นการพยาบาลอนามัยชุมชน หรือการพยาบาลชมชน เพื่อเน้นความสำคัญของชุมชน และจัดให้มีการเรียนการสอนการรักษาโรคเบื้องต้น
กลวิธีและนวัตกรรมสาธารณสุข
นวัตกรรม (Innovation)
ความหมาย
การสร้างหรือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ให้ตอบสนองวัตถุประสงค์มากขึ้น ความสามารถสร้างสรรค์ (Creativity) หรือความคิดริเริ่ม คือ ความสามารถนำเสนอสิ่งใหม่เป็นครั้งแรก ซึ่งจะเป็นตัวเปิดทางให้เกิดนวัตกรรม
ประเภทของนวัตกรรม
นวัตกรรมผลผลิต (Product innovation)
นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation)
นวัตกรรมการบริการ (Service model innovation)
นวัตกรรมสาธารณสุขไทย
แนวคิด
สร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อการแก้ปัญหา
เครื่องมือต่างๆ มีคุณลักษณะเด่น ข้อดี ข้อเสีย ที่แตกต่างกัน
ผู้ปฏิบัติเกิดความสับสน แต่นวัตกรรมแสดงให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างมีพลวัต
นวัตกรรมสามารถส่งผลกระทบเชิงพัฒาต่อกันได้ ควรเลือกตามลักษณะเด่นเพื่อแก้ปัญหาภายใต้สถานการณ์เฉพาะอย่างเหมาะสม
นวัตกรรมสาธารณสุขไทยสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
สุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543 (Health For All By The Year 2000)
การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care = PHC)
คุณภาพชีวิต (Quality of Life)
โครงการปรณรงค์คุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติ
ความจำเป็นพื้นฐาน (Basic Minimum Need = BMN)
กระบวนการความจำเป็นพื้นฐาน(จปฐ.)
โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเองทางสาธารณสุข (Self Managed
PHC Village)
แนวความคิด 3 ก. (กำลังคน กรรมการและกองทุน)
การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ระหว่างหมู่บ้านกำลัง
พัฒนาโดยชาวบ้านด้วยกันเอง (TCDV)
กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน
สาธารณสุขมูลฐาน
ความหมาย
เป็นกลวิธีทางสาธารณสุขที่พัฒนาเพื่อส่งเสริมการบริการสาธารณสุขของรัฐเน้นการดำเนินงานระดับตำบลและหมู่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพ
วิเคราะห์องค์ประกอบ
บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานควรต้องสามารถปฏิบัติได้มีความถูกต้องตามหลักวิชาการ และสังคมยอมรับได้
สามารถเข้าถึงบริการฯได้ถ้วนหน้า ด้วยราคาที่รับได้ และบริการฯสามารถธำรงได้
บริการฯสามารถพึ่งตนเอง และกำหนดการดำเนินงานได้เอง
บูรณาการในระบบสาธารณสุข และเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจ
เป็นบริการด่านแรกที่อยู่ใกล้บ้าน และสถานที่ทำงาน
เป็นบริการเบื้องต้นของกระบวนการดูแลสุขภาพที่ต่อเนื่อง
กลวิธีหลักในการดำเนินงาน สสม. (Strategic PHC)
การมีส่วนร่วมของชุมชน
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
การปรับระบบบริการพื้นฐานของรัฐเพื่อรองรับ สสม.
การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่นๆ
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมงานสาธารณสุขมูลฐาน
เน้นการปฏิบัติพยาบาลเพื่อป้องกันและรักษาปัญหาสุขภาพของท้องถิ่น
ให้บริการสุขภาพอนามัยต่อบุคคลทุกกลุ่ม และทุกสถานที่
มีสำนึกอยู่เสมอว่าตนเองมีหน้าที่ยื่นมือเข้าไปช่วยบุคคลหรือกลุ่มคนที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพในชุมชน จึงจะเป็นการให้บริการพยาบาลอย่างสมบูรณ์
มีส่วนช่วยในการกำหนดนโยบายทั้งระดับรัฐและท้องถิ่น เพื่อหาทางให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัย
นวัตกรรมสาธารณสุข และภูมิปัญญาในการพัฒนาสุขภาพบุคคล ครอบครัว ชุมชน
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา (Wisdom) หมายถึง
สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบันอย่าง
ภูมิปัญญาไทย หมายถึง
ที่ผ่านกระบวนการ สืบทอด พัฒนาปรับปรุง
และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดี
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง องค์ความรู้ของชาวบ้าน ทั้งทางกว้าง และทางลึกที่ชาวบ้านคิดเอง ทำเอง
ประเภท
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน
6.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตำรายาพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับประดิษฐกรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน
10.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
นวัตกรรมสาธารณสุขและภูมิปัญญา
การพัฒนาสุขภาพบุคคล ครอบครัว ชุมชน
โดยการผสมผสานภูมิปัญญา
ไทย เป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
บทบาทพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
ด้านคิดค้นนวัตกรรมหรือวางแผนใช้นวัตกรรม
มีส่วนร่วมในการคิดคั้นนวัตกรรมสาธารณสุขใหม่ๆ หรือ ร่วมวางแผนการใช้นวัตกรรมที่มีอยู่แล้ว
ร่วมบริหารจัดการโดยการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการ
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ควรศึกษานวัตกรรมให้เข้าใจ ถึงข้อดี ข้อเสีย และเตรียมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจ นวัตกรรมให้ถูกต้อง
การใช้นวัตกรรม ควรยึดหลักการสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ นวัตกรรมมากกว่าผลงาน
ด้านการประเมินผล
เมื่อนำนวัตกรรมใดไปใช้ในพื้นที่แล้ว ระยะเริ่มแรก ควรติดตามนิเทศอย่างใกล้ชิดและประเมินผลเป็นระยะ
ควรติดตามประเมินผลกิจกรรมแต่ละอย่างอย่างเป็นระบบระเบียบและมีการนำเสนอ ผลการประเมินไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นระยะ
ควรมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ดำเนินงานโดยการใช้นวัตกรรมในแต่ละระดับ