Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ Health Care Financing, :arrow_down: หน่วยบริการ …
การเงินการคลังสุขภาพ
Health Care Financing
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณะสุข
เป้าหมาย
สถานะสุขภาพของของประชาชนดีขึ้นอย่างถ้วนหน้า
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
Health financing objective
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน
จะหาเงินจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง
ทำอย่างไรให้มีหลักประกันสุขภาพที่ครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย
ทำอย่างที่จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ
จะเลือกอย่างไร
ที่จะดีและเหมาะสมที่สุด
การจ่ายค่าบริการ
เป็นแรงจูงใจให้กับผู้ให้บริการ
เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูง
ควรจ่ายในอัตราเท่าใด
ให้แประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
แหล่งการเงิน
ภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบ
ที่อยู่ภายใต้ 3 กระทรวงหลัก
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงการคลัง
ข้อดี
มีเสถียรภาพมากที่สุด
ได้จากการเก็บภาษี
การคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
ข้อเสีย
มีความเสถี่ยรภาพน้อยที่สุด
ไม่แน่นอนขึ้นกับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
เอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากประกันสุขภาพ
(ประกันชีวิต)
ข้อเสีย
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับ
ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ
ข้อดี
หาบริการอื่นทดแทนได้
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน
และผู้ให้บริการ
ความไม่สมมาตรของข้อมูล
Asymmetric Information
คือ ข้อมูลที่มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาด แต่ละฝ่ายนั้นมีไม่เท่ากัน
Moral hazard
พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลัง
ทำประกัน “ฉันทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันจ่าย
ต้องใช้ประกันให้คุ้ม”
Moral hazard ที่เกิดหลังป่วย คือ
ถ้าไม่มีประกันสุขภาพ
ถ้าป่วยจะรอดูอาการก่อนจนหายเอง
Moral hazard ที่เกิดก่อนป่วย คือ
เมื่อเรารู้ว่าไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง
เราจะไม่ระวังและไม่รรักษาสุขภาพตัวเอง
Adverse selection
กลุ่มหนึ่งความเสี่ยงสูง อีกลุ่มความเสี่ยงต่ำ ผู้เอาประกันทั้งสองฝ่ายรู้ตัวดีตัวเองอยู่ความเสี่ยงสูง หรือต่ำ
เเต่บริษัทประกันไม่ทราบ เพราะไม่สามารถประเมินได้
ประเภทของประกันสุขภาพ
Type of health insurance
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
Tax-based health insurance
สวัสดิการ
ข้าราชการ
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
Compulsory health insurance
ประกันผู้ประสบจากรถ ชั้น 3
กองทุนเงินทดแทน
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
Voluntary health insurance
ประกันชีวิต
ประกันรถยนต์ ชั้น 1
การจ่ายเงินให้สถานบริการ
Payment to provider
จ่ายย้อนหลังตามบริการ
Retrospective reimbursement
จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง
Retrospective payment
จ่ายเงินแบบผสม
Mixed payment
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือก และการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรจะได้ในประกันสังคม
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการยข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการ และค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
:arrow_down:
หน่วยบริการ
สุขภาพ
:arrow_down:
ระบบบริการ
ภาครัฐ
ระบบบริการ
ภาคเอกชน