Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2, 만화 교육 컴퓨터 학습 독서 삽화, 교육, 독서…
บทที่ 4
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2
โครงสร้างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
องค์ประกอบ
ตัวบ่งชี้ที่
เกณฑ์การพิจารณา
ประเด็นการพิจารณา/คำอธิบายของมาตรฐาน
วิธีการคำนวณ(ค่าร้อยละ)
มาตรฐานที่
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา
สถานศึกษาสามารถนำมาใช้ในการประเมิน
มาตรฐานด้านความเป็นไปได้
จะต้องมีความเป็นไปได้ในแนวทางปฏิบัติจริง ประหยัด คุ้มค่า และเหมาะสม
มาตรฐานด้านความถูกต้อง
ต้องมีความถูกต้อง ให้ข้อมูลเชื่อถือได้
มาตรฐานด้านประโยชน์จากการประเมิน
นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานได้จริง
มาตรฐานด้านความเหมาะสม
ต้องไม่ส่งผล กระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
จุดเน้น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การสร้างเครื่องมือระบบและวิธีประเมิน
การทดสอบผ่าน / การซ้ำชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6
การกำหนดแนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐานระดับชาติ
การประเมินครู
การประเมินระดับโรงเรียน/เขตพื้นที่
ประเมินความก้าวหน้ากับประเมินที่มีเกณฑ์ที่เป็นหลักเทียบ
ผู้บริหารจำเป็นต้องมีความรอบรู้ด้านการประเมิน
ประเมินระบบกากับที่มีสารสนเทศที่แสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) จากการประเมินชั้นเรียน
ประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา คำนึงถึงสภาพบริบทของสถานศึกษาปัจจัยกระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ของผู้เรียน
เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาตนเองมากกว่าการเน้น
การแข่งขันหรือเปรียบเทียบกับผู้อื่น
การประเมินระดับชั้นเรียน
3.ประเมินที่อิงตนเอง เพื่อน ปกติวิสัย และมาตรฐาน ปรับให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน
4.ประเมินที่บูรณาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีจากงานที่กำหนดให้ทำและให้ข้อมูลป้อนกลับ
2.ประเมินความก้าวหน้าให้มีประสิทธิผล เน้นประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มากกว่าประเมินเพื่อเปรียบเทียบกับผู้อื่น
5.ประเมินความรอบรู้ ด้านการวัดผลและคลังเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพสูงของครูผู้สอน
1.ประเมินผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาเป็นฐาน โดยคำนึงถึงสภาพบริบทของสถานศึกษา
การประเมินระดับชาติ
ประเมินกระบวนการพัฒนาการประเมินมีเครื่องมือที่มาตรฐานและกำหนดมาตรฐานผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ใช้เทคโนโลยีในการสอบ
ข้อสอบหรือสิ่งที่วัดเหมาะสมกับโลกแห่งความเป็นจริง
การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่(big data) จากการทดลองระดับชาติที่ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียนสถานศึกษาเขตพื้นที่และผู้กำหนดนโยบาย
ประเมินผลสรุปเป็นส่วนหนึ่งของระบบกำกับที่มีสารสนเทศเพื่อแสดง
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การกำหนดระดับคุณภาพ
3.ดี
4.ดีเลิศ
2.ปานกลาง
5.ดีเยี่ยม
1.กำลังพัฒนา
ตัวอย่าง
มาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
การให้ระดับคุณภาพ
ดี
มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
ดีเลิศ
มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ปานกลาง
มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กที่ยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
ยอดเยี่ยม
มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
มีส่วนร่วมของพ่อแม่ครอบครัวชุมชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดมีความพร้อมในการศึกษาระดับประถมศึกษา
กำลังพัฒนา
มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
การประเมินคุณภาพภายใน
แนวคิด
เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กระทำโดยบุคลากรในหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ข้อมูล ปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
ดำเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
เป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของตนเอง (Self-evaluation) โดยประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา
เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด
หลักการ
ไม่เพิ่มภาระการจัดทำเอกสารให้สถานศึกษา
พัฒนาผู้ประเมินภายในให้มีมาตรฐานมีความน่าเชื่อถือให้คำชี้แนะและให้คำปรึกษาแก่สถานศึกษาได้
เน้นการเก็บข้อมูลในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา
ปรับกระบวนทัศน์ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา (evaluation and development) บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสถานศึกษา
เพื่อนาข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อนาผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
Do (ดำเนินการตามแผน)
Check (การตรวจสอบผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา)
Plan (วางแผนปฎิบัติงาน)
Action (นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุง)
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
แจ้งผลการประเมินข้อเสนอแนะปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสรุปและเขียนรายงานการประเมินตนเอง(Self-assessment report)
สถานศึกษาดาเนินการ 1) ประเมินคุณภาพภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2) มีคณะกรรมการประเมินอย่างน้อย 3 คนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้นทะเบียนไว้อย่างน้อย 1 คนและ 3) ใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายและเหมาะสม
4.เน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริง(Evidence based)โดยเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
สถานศึกษาสรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเองนำเสนอรายงานและเผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป
3.สถานศึกษากาหนดเป้าหมายและเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานยึดหลักการดำเนินงาน
ข้อควรตระหนักในการประเมินคุณภาพภายใน
ผู้ประเมินจึงควรรู้ความเคลื่อนไหวของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอน
ให้สถานศึกษากำหนดระยะเวลาดำเนินการประเมินภายในได้เองตามความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพและบริบทของการดาเนินงาน
ผู้ประเมินควรวิเคราะห์อภิปรายด้วยใจเป็นกลางโดยพิจารณาจากข้อมูลหลักฐานที่เก็บรวบรวมจากหลายๆด้าน
การเก็บรวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกตและสัมภาษณ์ควรกระทำด้วยความเป็นมิตรมากกว่าการจับผิดหรือกล่าวโทษ
ผู้ประเมินควรมีความรู้สึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งในแง่มุมของภาระงานโครงสร้างเทคนิคต่างๆที่ใช้ในการบริหารและการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และมีประสบการณ์
2.เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบและประเมินตนเองตามบริบทตัดสินคุณภาพโดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนที่เป็นการประเมินภาพรวมของผลดำเนินงาน/กระบวนการดำเนินงาน (Holistic rubrics)
โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน
ผลประเมินตนเองของสถานศึกษา
สรุปผลแนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือ
ภาคผนวก
เป็นไปตามหลักการตัดสินโดยผู้เชี่ยวชาญ(Expert judgment) และตรวจทานผลด้วยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน(Peer review) เทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน
ระดับสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา
ให้คำปรึกษาช่วยเหลือแนะนำสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของสมศ.
จัดส่ง SARและประเด็นที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบไปยังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสมศ.
ให้ความร่วมมือกับสมศ. ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสานักงานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ศึกษาวิเคราะห์ SARให้คาปรึกษาช่วยเหลือแนะนาสถานศึกษาเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอาจมอบหมายให้บุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดนโยบายด้านการศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพร้อมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษา
2.ส่งเสริมสนับสนุนให้คำปรึกษาช่วยเหลือต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์และสรุปผลตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) เพื่อเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสานักงานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะ
1.จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สังคมชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง