Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1, At work Customizable…
บทที่ 4
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1
ความสำคัญและความจำเป็น
มาตรฐานถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแลการตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษา
3.เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนให้กับครูผู้บริหารพ่อแม่ผู้ปกครองชุมชนและหน่วย/งานต่างๆ
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
4.ความสำคัญกับการจัดการศึกษา 2 ประการ
1)สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐานซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกัน
2)มาตรฐานทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่าจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
ประโยชน์ของมาตรฐานการศึกษา
ประโยชน์
ใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับการตรวจสอบการนิเทศการติดตามและประเมินผล
มีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพและความก้าวหน้าของการจัดการศึกษา
สามารถวางหลักและแนวทางในการกำหนดนโยบายแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อเป็นมาตรฐานการศึกษาสำหรับการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาและเป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในระยะต่อไป
ช่วยให้สามารถกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประโยชน์ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
พ่อแม่ผู้ปกครองประชาชนและผู้นาชุมชนรับ่งทราบ่งกระบวนการจัดการศึกษาและเข้ามามีส่วนร่วมจัดทำแผนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ท้องถิ่นและสถานศึกษาใช้มาตรฐานเป็นแนวทางร่วมมือกันในการจัดการศึกษาให้บ่งรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้
ครูพัฒนาตนเองตามคุณลักษณะและคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพที่มาตรฐานกำหนดไว้
ผู้เรียนเกิดการปรับปรุงและพัฒนาตนเองตามความคาดหวังของสังคมและประเทศชาติ
แนวทางการกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา
(SWOT Analysis)
สถานศึกษาวิเคราะห์ SWOT และประเมินบริบทต่างๆด้วยความรอบคอบโดยพิจารณาร่วมกับข้อมูลสารสนเทศความสาเร็จของสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี จนได้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.กำหนดเป้าหมายความสาเร็จที่ท้าทายตามมาตรฐานการศึกษา
สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทายตามมาตรฐานการศึกษาให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ลักษณะของเป้าหมายที่ดีควรมีลักษณะ
SMART
1) Specific
เป้าหมายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
2) Measurable
เป้าหมายควรวัดได้เป็นตัวเลขประเมินค่าเปรียบเทียบ
3) Action oriented
เป้าหมายต้องระบุถึงสิ่งที่สถานศึกษาจะดำเนินการ
4) Realistic
เป้าหมายต้องเป็นจริงได้นาไปสู่การคิดค้นริเริ่มวิธีการใหม่ๆ
5) Timely
เป้าหมายต้องมีกรอบระยะเวลาที่แน่นอนชัดเจน
เป้าหมายความ
สำเร็จที่คาดหวัง
ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณ
= เป็นจำนวนร้อยละหรือค่าเฉลี่ยโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ผ่านมาเป็นฐาน (Baseline) ในการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย
ระบุเป้าหมายเชิงจะพัฒนา
เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในกลุ่มเดียวกัน
เปรียบเทียบกับเป้าหมายของสถานศึกษาในระดับที่เหนือกว่ากลุ่มเดียวกัน
ระบุเป้าหมายเชิงคุณภาพ
= เช่น เพิ่มขึ้น สูงขึ้น ดีเลิศ ดีเยี่ยม ชัดเจน ก้าวหน้าขึ้น มีแนวโน้มที่ดีขึ้นซึ่งจะต้องมีเกณฑ์ระดับคุณภาพกำกับด้วย
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2)คำอธิบายรายละเอียด
ข้อความที่อธิบายถึงรายละเอียดของมาตรฐานข้อที่แยกย่อยแต่ละด้าน(1)ตามรายละเอียดของมาตรฐานกำหนด
3)ประเด็นพิจารณา
ข้อความที่อธิบายถึงรายละเอียดแต่ละคำในมาตรฐาน(2) ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในแต่ละระดับชั้น
1) รายละเอียดของมาตรฐาน
ข้อความที่แสดงถึงรายละเอียดการประเมินคุณภาพที่สอดคล้องกับ่งมาตรฐานด้านนั้นๆที่แยกย่อยเป็นรายข้อ
4)เป้าหมายความสำเร็จ
ข้อความที่พิจารณาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพนามาเทียบกับคะแนนเต็มแล้วจึงแปลผลตามเกณฑ์ระดับคุณภาพที่กำหนดแต่ละประเด็นพิจารณา(3)
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา
แนวคิด
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
2)ด้านการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนตามขีดความสามารถ
3)ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้การจัดการศึกษาเกิดคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดโดยตรงต่อผู้เรียน
1)ด้านการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาเน้นกับการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษา
4) ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการ
จัดให้มีห้องเรียนห้องปฏิบัติการอาคารเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่เพียงพอ ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลถึงความสำเร็จในการเรียนของผู้เรียน
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเน้นที่การปฏิบัติ
(active learning)
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น
ระดับ"ปานกลาง"
เน้นที่จัดการเรียนรู้ผ่านกระบ่งวนการคิดและปฏิบ่งัติจริงรวมทั้งความสามารถในการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
ระดับ"ดี" "ดีเลิศ" และ"ยอดเยี่ยม"
เน้นไปที่การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้
ด้านคุณภาพผู้เรียน
1)ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น
ระดับ"ปานกลาง"
ที่การมีความสามารถในการอ่านการเขียนการสื่อสารและการคิดคำนวณ
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
ระดับ"ดี" "ดีเลิศ" และ"ยอดเยี่ยม"
จะมุ่งเน้นไปที่การมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดและ
การแก้ปัญหา
2)ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นพื้นฐาน
ระดับ"ปานกลาง"
ที่การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดและการมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจ
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
ระดับ"ดี" "ดีเลิศ" และ"ยอดเยี่ยม"
จะมุ่งเน้นไปที่ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยรวมทั้งการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
และหลากหลาย
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ
ต้องกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพรายละเอียดของมาตรฐานประเด็นพิจารณาและระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาประเมินตามเกณฑ์และตัดสินคุณภาพและมาตรฐาน3ระดับ
1) ระดับตัวบ่งชี้
2) ระดับมาตรฐาน
3) ระดับสถานศึกษา
มาตรฐานที่สถานศึกษาปฏิบัติประเมินกระชับมีจำนวนน้อยแต่สามารถสะท้อนบริบทของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาได้จริง
การกำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การนำมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดเป็นเป้าหมายการพัฒนาในภาพรวมระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เน้นบริบทหรือเอกลักษณ์ท้องถิ่นเพิ่มเติม
ระดับสถานศึกษา
นำเอามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและอัตลักษณ์ของสถานศึกษาที่โดดเด่นในด้านต่างๆ
กระบวนการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษาต่างๆ
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมาย
เตรียมความพร้อมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดทำมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางที่1
สถานศึกษาขนาดใหญ่/กลาง
ส่วนที่ 1 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางที่ 2 สถานศึกษาขนาดเล็ก
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดทิศทางในการดำเนินงานด้านการศึกษาเพื่อไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
แนวทางการนามาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของหน่วยงาน
ระดับนโยบาย
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด
มีการกากับ ติดตาม ประเมินผล และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ส่งเสริมให้สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของตนเองอย่างมีระบบ อย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานหลักสูตรเพื่อให้สถานศึกษาถือปฏิบัติ
ระดับสถานศึกษา
จัดการศึกษา ยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การมีเครือข่าย ความร่วมมือ การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
มีการพัฒนาผู้บริหาร ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับโลกยุคดิจิทัลและโลกอนาคต
จัดการศึกษาให้เหมาะสมตามอัตลักษณ์ของตนเอง สอดคล้องกับสภาพบริบทและตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน สังคมและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ