Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ IICP - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ IICP
การประเมินระดับความรู้สึกตัวและความผิดปกติทางระบบประสาท
การวัดสัญญาณชีพ
การพยาบาลเฉพาะปัญหา ดังนี้
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงการระบายอากาศ (hyperventilation)
ส่งเสริมการไหลกลับของเลือดดำจากสมองสู่หัวใจ โดยจัดท่ายกศีรษะสูง 30 องศา
ควบคุมความดันโลหิต รักษาความดัน systolic ไม่ให้ต่ำว่า 90 mmHg. โดยการให้สารน้ำให้เพียงพอ
วางแผนการพยาบาลและหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม
พยาบาลหลายๆอย่างพร้อมกันเกินไปเพราะจะเป็นการ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยเจ็บปวด มีความดันในกะโหลกศีรษะ
เพิ่มขึ้นได้
ไม่ผูกเชือกที่ผูกท่อช่วยหายใจที่คอแน่นเกินไป เพราะอาจทำให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจช้าลง
ป้องกันความดันในทรวงอกเพิ่มขึ้น (valsalva's maneuver)
ดูแลความสมดุลของสารน้ำ โดยให้สารน้ำ 0.9% NSS อย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงสารน้ำประเภทกลูโคส
หลีกเลี่ยงสารน้ำที่ความเข้มข้น < เลือด
ให้ยาระงับในรายที่วุ่นวาย กระสับกระส่าย ลุกลี้ลุกลน ไม่หลับ หายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่อง
ในรายที่ไม่รู้สึกตัว อาจแสดงอาการโดยการกำหมัดแน่นหรือกัดฟัน เหงื่ออกมาก ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตสูง ไข้สูง
ให้ยาระงับปวด (Analgesia) และยาคลายกล้ามเนื้อ (neuromuscular blockade)
รักษาและป้องกันอาการชัก เพื่อลดการเผาผลาญในสมองและป้องกันภาวะพร่องออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
บริหารยากลุ่ม osmotic agent ให้ได้ตามแผนการรักษาและเฝ้าระวังอาการข้างเคียง
ในรายที่ทำการผ่าตัดเอากะโหลกศีรษะออก (decompressive craniectomy) ไม่ควรจัดท่าให้ศีรษะนอนทับแผล
ดูแลอุปกรณืพยุงคอ ไม่ให้หลวมหรือแน่นเกินไป
แก้ไขภาวะน้ำตาลในเลือดสูง โดยการให้อินซูลินตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังอาการผิดปกติจากระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ระวังไม่ให้มีไข้สูง โดยการให้ยา เช็ดตัว และใช้เครื่องทำความเย็นช่วย
การใช้หลัก ABCs ในการดูแล
A : Airway เพิ่มการระบายอาการให้ผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ศรษะ เช่น
ให้ O2 ก่อนและหลังดูดเสมหะ โดยบีบ ambubag ให้ 4-5 ครั้ง และไม่ควรบีบนาน
B : Blood pressure การควบคุมความดันโลหิต
ไม่ให้สูงเกินไปเพราะจะทำให้เส้นเลือด
ในสมองแตกได้
ไม่ให้ต่ำเกินไป เพราะจะทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
C : Calm ความตึงเครียดของร่างกาย จึงต้องมีการพยาบาลเพื่อให้เกิดความสงบและลดกิจกรรม
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบต่อการ
พักผ่อน
ลดกิจกรรมการพยาบาลที่บ่อยเกินไป เช่น การดูดเสมหะควรทำเมื่อจำเป็น
D : Dim the light การจัดสิ่งแวดล้อมที่มีแสงสลัว เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนลดการ
ใช้พลังงานในการเผาผลาญและลด
ความตึงเครียด
E : Edema เป็นภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากเกิดการบวมน้ำภายหลังได้รับการบาด
เจ็บที่ศีรษะ
ให้ยา mannitol เพื่อลดปริมาตรของเนื้อสมองลง
ติดตามจำนวนปัสสาวะที่ออกมา
เฝ้าระวังภาวะขาดน้ำหรือการทำงาน
ของไตบกพร่อง
ติดตามค่าเกลือแร่ในร่างกายผู้ป่วย
E : Elevate the head จัดท่านอนศีระษะสูง 30 องศา ช่วยเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือดดำจากสมองสู่หัวใจ
ดูแลจัดท่านอนให้ศีรษะอยู่ในแนวตรงกับลำตัวไม่เกิดการงอของสะโพกมากกว่า 90 องศา และคอผู้ป่วยอยู่ในแนวเดียวกัน ไม่ก้มหรือบิดหมุน ไม่หันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง
F : Fluid and Electrolyte ความสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่
ประเมินความสมดุลโดยการติดตาม
เกลือแร่ในร่างกายรวมทั้งความถ่วง
จำเพาะในปัสสาวะ
คำนวณอัตราการหยดของสารน้ำอย่างสม่ำเสมอ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออกจากร่างกาย
อย่างถูกต้องแม่นยำ ในระยะวิกฤตควรบันทึกทุก 1 ชั่วโมง
G : Glasgow coma scale (GCS)
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
สังเกตและบันทึกอาการทางระบบประสาท
สัญญาณชีพ
ปฏิกิริยาของรูม่านตาและการเคลื่อน
ไหว
หาก GCS ลดลงจากเดิม > 2 คะแนน แสดงว่า สมองเกิดการเคลื่อน
H : Hyperthermia การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในร่างกาย
ให้ยาลดไข้
ใช้ Hypothermia blanket
เช็ดตัวลดไข้ (มีทั้งผลดีและเสีย)
I : ICP monitoring การเฝ้าระวังโดยใช้เครื่องวัด ICP
สังเกตลักษณะคลื่นที่ผิดปกติและบันทึกค่าของ ICP อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกอาการแสดงที่บ่งบอกว่าเกิดภาวะติดเชื้อ เช่น บวม แดง มีของเหลวซึมผิวหนังรอบๆสายสวนหรือเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นใน CSF ที่ส่งตรวจ
ใช้หลัก Aseptic technique ในการเปลี่ยน Dressing
บันทึกจำนวนและสีของ CSF ที่ไหลออกมาและรายงานแพทย์หาก
พบความผิดปกติ
J : Jugular vein ระบบการไหลเวียนของเลือดดำ
คอยสังเกตหลอดเลือดดำที่คอว่ามีการโป่งพองหรือไม่
วัดและติดตามค่าแรงดันหลอดเลือด
ดำที่คอเป็นระยะๆ