Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 1 การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Education for Sustainable…
กลุ่มที่ 1
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Education for Sustainable Development)
1. ที่มาของแนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนไม่ใช่เรื่อใหม่และไม่ใช่เพียงประเทศไทยเท่านั้นที่ประสบปัญหาความไม่ยั่งยืนของการสำหรับแนวคิดการพัฒนาของประเทศไทยในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาได้ให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก ไม่สมดุลกับการพัฒนาด้านอื่น แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 เป็นต้นมาว่าถึงแม้การพัฒนาจะทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต แต่เป็นการเติบโตที่มีรากฐานการพัฒนาไม่เข้มเข็ง ขาดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม อีกทั้งไม่ได้คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควรจึงเป็นการเติบโตที่ไม่สมดุลและไม่ยั่งยืน จึงเป็นที่มาของวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจทำให้วิถีชีวิตของคนไทยเริ่มขาดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม กลายเป็นปัญหาสะสมที่บั่นทอนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยมาจนถึงปัจจุบัน และนำไปสู่การพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน หากไม่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การพัฒนาให้เหมาะสมและสมดุลอย่างองค์รวมทั้งมิติเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อม
2. ความหมายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การดำเนินการจัดการศึกษาตามแนวทางจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างสมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมทางศึกษา
3. องค์ประกอบของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
3.2 การตัดสินใจด้านการศึกษาจะเลือกโอกาสทางการศึกษาอย่างไร ที่จะทำให้ชุมชน มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
3.3 การศึกษาสร้างคุณภาพชีวิตคุณภาพชีวิตที่ได้รับการ พัฒนาให้ก้าวหน้า มั่นคง และยั่งยืน
3.1 การดำเนินงานของการศึกษาเพื่อให้เกิด ความสมดุลขององค์ประกอบของการพัฒนาที่ยั่งยืน การ ศึกษาจะต้องทำให้สมาชิกในสังคมสามารถรู้หนังสือใน ระดับสูง
4. การบริหารจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
4.1 การพัฒนาหลักสูตรที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนในระดับต่าง ๆ ของการศึกษา
4.2 การพัฒนาผู้สอนและผู้เรียนให้มีสมรรถนะ
4.3 การพัฒนาผู้อยู่นอกระบบการศึกษาและขาดโอกาส
7. ประเด็นท้าทายตามแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ข้อเสนอแนะประเด็นท้าทาย 9 ข้อ ได้แก่
การเสริมสร้างความตระหนัก
การบูรณาการหลักสูตรสำหรับการศึกษาในระบบ (Formal education)
การปฏิรูปการศึกษา ต้องเน้นที่เป้าหมายของการจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วมของชุมชน
การบูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู้
บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
การพัฒนาศักยภาพของผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การจัดระบบงบประมาณและปัจจัยสนับสนุน
9.การกำหนดนโยบายส่งเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
5. แนวความคิดในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย
การศึกษาเป็นกลไกสำคัญสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนการศึกษามีผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาประเทศ ประเทศชาติจะมีการพัฒนาที่ยั่งยืนได้นั้น ประชากรในประเทศต้องได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพมาก่อน
6. การนำแนวคิดไปสู่การปฏิบัติการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
6.1 การพัฒนาตนเอง
6.2 การพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
8. การสร้างความสามารถในการแข่งขันบนพื้นฐานทรัพยากรและความสามารถของมหาวิทยาลัย
9. การสร้างความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทักษะด้านการเรียนรู้และการสร้างนวัตกรรม (Learning and innovation skills)
ทักษะด้านข้อมูล สื่อและด้านเทคโนโลยี
วิชาหลักและสาระสำคัญของการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 (Core subjects and 21st century themes)
ชีวิตและทักษะในการทำงาน (Life and career skills)
10. การสร้างความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับบริบทของท้องถิ่นและเป็นสากล
แนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นแนวคิดที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ สำหรับประเทศไทยได้นำแนวคิดนี้มาปรับใช้อย่างสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 จนถึงปัจจุบัน(ซึ่งเริ่มใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่11)
11. การสร้างความสามารถในการแข่งขันบนพื้นฐานทรัพยากรและความสามารถของมหาวิทยาลัย
ปัจจัยหลักของความสำเร็จในการจัดการศึกษา ให้เกิดการสร้างความสามารถในการแข่งขัน จะประกอบ ด้วย
(1) ผู้สอนต้องให้ผู้สอนทำงานตามความสามารถและความถนัด
(2) ผู้บริหารต้องใช้ภาวะผู้นำในการพัฒนางานให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) อาคารสถานที่วัสดุอุปกรณ์ และการจัดสิ่งแวดล้อมในทุกๆคณะ อยู่ภายใต้การควบคุมต้นทุนอย่างประหยัดที่สุด เกิดประโยชน์สูงสุด