Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เอดส์ หรือ AIDS
(Acquired Immune Deficiency Syndrome) 525-5253972_virus…
เอดส์ หรือ AIDS
(Acquired Immune Deficiency Syndrome)
เอดส์ คืออะไร
เอดส์ เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย เสื่อมลงมาก จากการติดเชื้อไวรัส ชื่อว่า เอช ไอ วี (HIV) หรือเชื้อ เอดส์ ซึ่งเข้าไปทำลายเม็ดเลือด ขาวชนิด CD4 แหล่งสร้างภูมิคุ้ม กัน ทำให้ร่างกายติดเชื้อโรคอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุ้มสมองอักเสบหรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการจะรุนแรง
การติดต่อ
- การร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อเอดส์โดยไม่ได้ป้องกัน
- การรับเชื้อทางเลือดจากผู้ติดเชื้อเอดส์
- ใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาร่วมกัน
- รับเลือด ผลิตภัณฑ์เลือด จากผู้ติดเชื้อ
- การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
-
-
เอดส์เกิดจากเชื้ออะไร
โรคเอดส์มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส ที่มีชื่อว่า Human Immunodeficiency Virus (HIV) ปัจจุบันนี้พบเชื้อ HIV สองชนิด คือ HIV-1 และ HIV-2 เชื้อที่เป็นปัญหาก่อโรครุนแรงและ แพร่กระจายทั่วโลกคือ HIV-1 ส่วน HIV-2 มีความรุนแรงในการก่อโรคและแพร่กระจายน้อยกว่า HIV-1 ผู้ติดเชื้อมีประวัติมาจากแอฟริกาตะวันตก พบในยุโรป อเมริกา และอินเดีย
อาการและอาการแสดง
1.ระยะแรก
ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจะมีอาการไข้ หนาวสั่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว น้ำหนักลด หรือมีฝ้าขาวในช่องปาก อาการเหล่านี้มักจะเป็นอยู่ประมาณ 1-2 สัปดาห์ แล้วหายไปได้เอง
ในช่วงแรกที่ติดเชื้อปริมาณไม่มาก และยังไม่ได้สร้างภูมิต้านทานขึ้นมาอาจยังตรวจหาเชื้อหรือภูมิต้านทานต่อเชื้อไม่พบ ซึ่งอาจเป็นช่วงตั้งแต่ 2-12 สัปดาห์
2.ระยะไม่ปรากฏอาการ
ผู้ติดเชื้อมักจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป แต่ตรวจเลือดจะพบเชื้อ HIV
และสารภูมิคุ้มกันต่อเชื้อชนิดนี้ จึงสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ เรียกว่าเป็นพาหะ (Carrier)
ระยะนี้จะไม่มีอาการแต่เชื้อ HIV จะแบ่งตัวเจริญเติบโตขึ้นไปเรื่อย ๆ
และทำลายระบบภูมิคุ้มกันโรคจนมีจำนวนลดลง
-
กลุ่มผู้ป่วยประมาณร้อยละ 10 ที่ระยะนี้อาจสั้นเพียง 2-3 ปี ซึ่งเรียกว่า กลุ่มที่มีการดำเนินโรคเร็ว (Rapid progressor)
กลุ่มผู้ป่วยประมาณร้อยละ 5 จะมีการดำเนินโรคช้า โดยบางรายอาจนานกว่า 10-15 ปีขึ้นไป เรียกว่า กลุ่มที่ควบคุมเชื้อได้ดีเป็นพิเศษ (Elite controller)
-
การควบคุมป้องกันโรค
- เลี่ยงการเที่ยวแหล่งบริการที่นำไปสู่การมี เพศสัมพันธ์
- ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
- ตรวจเลือดก่อนแต่งงาน และก่อนมีบุตร ทุกท้อง
- ไม่ใช้สารเสพติดทุกชนิด เพราะจะขาดสติ พาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางหรือใช้ ไม่ถูกต้อง
- ถ้าพบอุบัติเหตุที่มีเลือด เวลาช่วยเหลือควรใส่ถุงมือหรือถุงพลาสติก
-
-
การตรวจหาเชื้อ HIV
-
- การตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ HIV
2.1 การตรวจหา p24 แอนติเจน ไม่นิยม เพราะต้องตรวจพบแอนติเจนได้ก่อนการตรวจพบแอนติบอดี ประมาณ 6 วันเท่านั้น
2.2 การเพาะเลี้ยงและแยกเชื้อไวรัส (Viral isolation) เป็นการทดสอบหาตัวเชื้อ HIV วิธีนี้ไม่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อทั่วไป เพราะยุ่งยาก เสียเวลา ค่าใช้จ่ายสูง
-
- การทดสอบเพื่อการพยากรณ์การดำเนินโรค
3.1การตรวจ serial CD4+count เป็นการทดสอบหาจำนวน CD4+T-lymphocyte ซึ่งค่าปกติของ CD4+ T-lymphocyte = 500-1,200 cells/cu.mm
ในคนติดเชื้อถ้าไม่ได้รับยาต้านเชื้อไวรัสจำนวน CD4+T-lymphocyte จะสูงขึ้น คงที่ หรือลดลงอย่างช้า ๆ
3.2 การตรวจหา HIV-RNA หรือปริมาณไวรัส เป็ นการตรวจหาปริมาณ Viral RNA
หรือViral load ในพลาสมา ใช้ทำนายการดำเนินโรคได้ดี
- การทดสอบเชื้อ HIV-1 ที่ดื้อต่อยา
4.1 การตรวจความไวต่อยาของเชื้อ HIV-1 (Phenotype assay)
เป็นการวัดความสามารถของเชื้อที่สามารถเพิ่มจำนวนในอาหารเพาะเชื้อที่มียาต้านไวรัส
4.2 การตรวจสอบว่ามียีนที่ดื้อต่อยา (genotype assay)
เป็นการตรวจหาการเกิด mutation ในตำแหน่งที่จำเพาะต่อการเกิดเชื้อดื้อยา
การรักษา
การรักษาทางใจ
-
-
- ช่วยให้ผู้ติดเชื้อเอดส์เข้าใจตนเอง
- ให้กําลังใจแก่ผู้ติดเชื้อเอดส์
- จัดกิจกรรมใช้เวลาให้เกิดประโยชน์
- ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
- ดูแลให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ
- แสดงความรักต่อผู้ติดเชื้อเอดส์
-
- ดูแลให้การพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
- อดทนต่อการแสดงออกของผู้ติดเชื้อเอดส์
การรักษาทางกาย
-
- ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
-
-
การพยาบาล
- ช่วยให้ผู้ติดเชื้อสามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม
และดำรงชีวิตอยู่ได้เป็นปกติมากที่สุด
- ช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การดูแลผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในระยะเริ่มต้นซึ่งยังไม่มีอาการ
: บทบาทของพยาบาลคือ บทบาทของผู้รับฟัง ผู้สนับสนุนให้กำลังใจ
ให้ข้อมูลและความรู้ที่เหมาะสม
การดูแลผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ที่มีอาการ : เป้าหมายของการพยาบาลจะมุ่งถึงการทำอย่างไรให้
ผู้ป่วยเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม มีช่วงชีวิตที่เหลือเกิดความผาสุกได้มากที่สุดภายใต้ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยควรเรียนรู้การผสมผสานกิจกรรมการดูแลตนเองและสอดแทรกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
ลักษณะของเชื้อ HIV
-
-
-
-
-
มีกลัยโคโปรตีนเป็นส่วนประกอบห่อหุ้มอยู่ กลัยโคโปรตีนที่สําคัญคือ
gp120 มีลักษณะเป็นตุ่ม (knobs) อยู่ด้านนอกสุดของตัวไวรัส
gp41 ซึ่งมีลักษณะเป็น transmembrane glycoprotein
-