Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สาธารณสุขและนวัตกรรม กับการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
สาธารณสุขและนวัตกรรม
กับการพยาบาลอนามัยชุมชน
สาธารณสุข
การสาธารณสุข
เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะในการป้องกันโรคด้วยความร่วมมือของชุมชนในการท ากิจกรรม 5 ประการ
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
การควบคุมป้ องกันโรคติดต่อ.com
การให้ความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
การจัดองค์กรเกี่ยวกับบริการทางการแพทย์และการพยาบาล
การพัฒนากลไกสังคม เพื่อให้ทุกคนมีมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม เพียงพอที่จะด ารงไว้ซึ่งสุขภาพ
การผสมผสานวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติ
โดยการจัดการของสังคมให้มีกิจกรรมต่างๆโดยกิจกรรมในการสาธารณส ุขนั้นอาจเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ ด้านสุขภาพของประชาชน เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและค่านิยมทางสังคม
สรุปจากความหมายของการสาธารณสุข คือ การใช้ความรู้และทักษะที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลปะในการดําเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อ ให้ประชาชนมีการพัฒนาสุขภาพ
การจัดบริการสาธารณสุข
อนามัยส่วนบุคคล
เป็นความรู้และพฤติกรรมการดูแลอวัยวะต่างๆ , ร่างกาย การจัดทรวดทรง ความสะอาด ความสะดวก การเลือกเสื้อผ้า
อนามัยส่วนชุมชน
เน้นที่การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ได้แก่ น้ํา อาหาร อากาศ ที่พักอาศัย ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ตลอดจนการควบคุมพิษภัยต่างๆ
หลักการสาธารณสุข
ใช้กลวิธีต่างๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะให้ประชาชน
มีความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ในระดับหนึ่ง
ให้การดูแลประชาชนในลักษณะองค์รวมของกาย จิต อารมณ์
สังคม และ จิตวิญญาณ
ให้การดูแลประชาชนทุกสถานที่
ให้การดูแลประชาชนทุกภาวะสุขภาพ คือ ภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง
และภาวะเจ็บป่ วย
ประสานความร่วมมือทางด้านสังคมเพื่อพัฒนาสุขภาพของ
ประชาชน
ให้การดูแลประชาชนโดยไม่เลือกชนชั้นวรรณะ
ความสำคัญของการสาธารณสุข
การฟื้ นฟูสมรรรถภาพ (Rehabilitation)
การรักษาพยาบาล (Curation)
การส่งเสริมส ุขภาพ (Health Promotion)
การป้ องกันการเจ็บป่ วยและการป้ องกันโรค (Disease
Prevention
การจํากัดความพิการ (Disability Limitation)
หลักการในการจัดบริการสาธารณสุข
มีความเพียงพอ (Availability)
หมายถึง มีสถาน
บริการ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ มีบุคลากรเพียงพอต่อการ
ให้บริการกับประชาชนทุกพื้นที่ และครอบคลุมทุกปัญหาสุขภาพ
เข้าถึงได้ (Accessibility)
หมายถึง ประชาชนทุกคน
สามารถใช้บริการที่จัดให้ อย่างสะดวก และราคาไม่สูงเกินไป
มีบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuity)
หมายถึง บริการ
ที่จัดขึ้น ต้องมีอย่างสม ่าเสมอ มีการเชื่อมโยงบริการ เช่น การส่ง
ต่อไปรับการรักษา การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน การส่งเสริมสุขภาพ
4.มีคุณภาพเป็ นที่ยอมรับ (Acceptability)
หมายถึง
บริการสาธารณสุข ทั้งด้านสถานที่ บริการที่จัดให้และบุคลากร
ต้องมีคุณภาพได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการ
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
หมายถึง บริการที่จัดให้มีประสิทธิภาพได้ผลดี คุ้มกับค่าใช้จ่าย ไม่เสียเวลาในการคอยนาน ไม่เกิดภาวะเสี่ยง
มีความเสมอภาค (Equity)
หมายถึง ประชาชนทุกคน
ได้รับบริการอย่างเสมอภาค ยุติธรรม และเท่าเทียมกัน
มาตราการทางสาธารณสุข
มาตรการทางการศึกษา
สุขศึกษาในชุมชน
สุขศึกษาในโรงพยาบาล
สุขศึกษาในโรงเรียน
การพยาบาลอนามัยชุมชน
เป็นผู้ให้บริการสาธารณส ุขแก่ประชาชนด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้นที่ส ุขศาลา (สถานีอนามัย) ฉีดวัคซีนป้องกันโรค รวมทั้งเยี่ยมบ้านเพื่อทําคลอด และดูแลส ุขภาพมารดาและทารกหลังคลอด
มีเป้าหมายมุ่งการด ูแลและสงเคราะห์ผู้ที่ยากจนและด้อยโอกาสมากกว่าประชาชนทั้งหมดที่อยู่ในชุมชน
นวัตกรรม
นวัตกรรมสาธารณสุขไทย
มายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ในด้านสาธารณสุข หืรอกิจกรรม
การกระท าในแนวทางใหม่ๆในด้านสาธารณสุขในประเทศ
ไทย
เเนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
สร้างนวัตกรรมต่างๆ เพื่อ
การแก้ปัญหา
มีคุณลักษณะเด่น ข้อดี ข้อเสีย ที่แตกต่างกัน
แสดงให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่าง
มีพลวัต ไม่ยึดติดกิจกรรมเก่าๆอย่างตายตัว
สามารถส่งผลกระทบเชิงพัฒนาต่อกันได้ การเลือกใช้นวัตกรรม ควรเลือกตามลักษณะเด่นเพื่อแก้ปัญหาภายใต้สถานการณ์เฉพาะอย่างเหมาะสม
ต้องนึกถึงสภาวะการที่แตกต่างกัน
ของพื้นท
ต้องดำเนินไปในทิศทางที่ไม่ขัดแย้งกับยุทธศาสตร์หลัก
มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และพัฒนาศักยภาพ
มีการปรับตัวให้เกิดการตัดสินใจ
จากส่วนปลายมากขึ้น ควบคู่กับการพัฒนาโครงสร้างของระดับล่างไปพร้อมกัน
สาธารณสุขมูลฐาน
เป็นกลวิธีทางสาธารณสุขที่พัฒนาเพื่อส่งเสริมการบริการสาธารณสุข
ของรัฐเน้นการดำเนินงานระดับตำบลและหมู่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพที่จำเป็นซึ่งจัดให้มีความทั่วถึงทุกคน เกิดการผสมผสานระหว่าง ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศกับ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติโดยมีระบบสาธารณสุขเป็น
แกนกลาง
กิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน
ประกอบด้วย 14 กิจกรรม คือ NEWSITEMIMDECAA
N = Nutrition การโภชนาการ
E = Education การสุขศึกษา
W = Water Supply and Sanitation
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและการจัดหาน้ าสะอาด
S = Surveillance for Local Diseases Control
การป้องกันและควบคุมโรคในท้องถิ่น
I= Immunization การสร้างเสิรมภูมิคุ้มกันโรคติดต่อ
T= Simple Treatment การรักษาพยาบาลโรคง่าย ๆ ที่พบบ่อยในท้องถิ่น
E = Essential Drugs การจัดหายาที่จ าเป็ นไว้ใช้ในหมู่บ้าน
M = FP and MCH การวางแผนครอบครัวและการอนามัยแม่และเด็ก
M = Mental Health การสุขภาพจิต
D = Dental Health การทันตสาธารณสุข
E = Environmental Health การป้องกันและแก้ไขมลภาวะและสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ
C = Consummer Protection การคุ้มครองผู้บริโภค
A = Accident and Non-Communicable Disease Control
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุอุบัติภัยและโรคไม่ติดต่อ
A = Aids การป้องกันและควบคุมโรคเอดส
บทบาทของพยาบาล
ในการส่งเสริมงานสาธารณสุขมูลฐาน
:เน้นการปฏิบัติพยาบาลเพ่ือป้องกันและรักษาปัญหาสุขภาพของ
ท้องถิ่น
ให้บริการสุขภาพอนามัยต่อบุคคลทุกกลุ่ม และทุกสถานที่
มีส านึกอยู่เสมอว่าตนเองมีหน้าท่ีย่ืนมือเข้าไปช่วยบุคคลหรือกลุ่มคน
ที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพในชุมชน จึงจะเป็นการให้บริการพยาบาล
อย่างสมบูรณ์
มีส่วนช่วยในการก าหนดนโยบายท้ังระดับรัฐและท้องถ่ิน เพ่ือหาทาง
ให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัย
ฝึก/สอน/ส่งเสริมศักยภาพสมาชิกในทีมสุขภาพอ่ืนๆท่ีเก่ียวข้องกับงาน
สสม.โดยเฉพาะ อสม.
พัฒนาระบบการส่งต่อหรือระบบก าลังคนด้านสุขภาพอนามัย และ
ประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีสุขภาพอ่ืนๆ
มีความรู้ในงานบริหาร การนิเทศ การวิจัย การสอน อันเป็นประโยชน์ต่อการจัดบริการเพ่ือสุขภาพของประชาชน
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10(2550-2554)
“เมืองไทยแข็งแรง” (Healthy Thailand)
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่11 (2554-2559)
“ระบบสุขภาพระดับอําเภอ” (รสอ.) District Health System (DHS)
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่12(2560-2564)
“ความจําเป็ นพื้นฐาน” (จปฐ.)
นวัตกรรมสาธารณสุข
และภูมิปัญญาในการพัฒนาสุขภาพบุคคล
ครอบครัว ชุมชน
ภูมิปัญญาหมายถึง สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบันอย่าง
ไม่ขาดสายและเชื่อมโยงกันท้ังระบบทุกสาขา
ภูมิปัญญาไทยหมายถึง ที่ผ่านกระบวนการ
สืบทอด พัฒนาปรับปรุงและเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีสามารถแก้ไข
ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น หืรอภูมิปัญญาชาเป็ นองค์ความรู้ของชาวบ้าน ท้ังทางกว้างและทาง
ลึกที่ชาวบ้านคิดเองทำเอง โดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหาการ
ดำเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัยวบ้าน หมายถึง
ประเภทของภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน
4.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน
5.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน
6.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
7.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน
8.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับสมุนไพรและต ารายาพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับประดิษฐกรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน
10.ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการด ารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
นวัตกรรมสาธารณสุขและภูมิปัญญา
การพัฒนาสุขภาพบุคคล ครอบครัว ชุมชน โดยการผสมผสานภูมิปัญญา
ไทยเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
บทบาทพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
ด้านคิดค้นนวัตกรรมหรือวางแผนใช้นวัตกรรม
-บทบาทการมีส่วนร่วมในการคิดค้นนวัตกรรมสาธารณสุขใหม่ๆ หรือ
ร่วมวางแผนการใช้นวัตกรรมที่มีอยู่แล้ว โดยเลือกใช้นวัตกรรมในการ
แก้ปัญหาให้เหมาะสมกับพื้นที่เหตุการณ์และช่วงเวลา
-ร่วมบริหารจัดการโดยการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการแต่ละ
นวัตกรรมให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาและพื้นท
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
-ควรศึกษานวัตกรรมให้เข้าใจ ถึงข้อดี ข้อเสีย และเตรียมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจ
นวัตกรรมให้ถูกต้อง แต่ละพื้นที่อาจใช้นวัตกรรมที่แตกต่างกันออกไปตาม
สภาวะการณ์และปัญหา และในพื้นที่เดียวกันไม่จ าเป็นต้องใช้ นวัตกรรมทุก
นวัตกรรมเช่นกัน
-การใช้นวัตกรรม ควรยึดหลักการสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้นวัตกรรมมากกว่าผลงาน เริ่มนวัตกรรมจากกิจกรรมเล็กๆก่อน แล้วค่อยขยาย
ใหญ่ขึ้นจนเต็มพื้นที่ และเตรียมประชาชนให้เข้าใจนวัตกรรมอย่างถูกต้อง
ด้านการประเมินผล
เมื่อนพนวัตกรรมใดไปใช้ในพื้นที่แล้ว ระยะเริ่มแรก ควรติดตามนิเทศอย่างใกล้ชิด
และประเมินผลเป็นระยะ เพื่อให้ทราบข้อดีข้อเสีย และน ามาปรับปรุง และพัฒนาใน
ขั้นตอนต่อไป
-ควรติดตามประเมินผลกิจกรรมแต่ละอย่างอย่างเป็นระบบระเบียบและมีการน าเสนอ
ผลการประเมินไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นระยะ
ควรมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด าเนินงานโดยการใช้นวัตกรรมในแต่ละระดับ
เช่น ระดับต าบล อ าเภอ จังหวัด ระหว่างจังหวัด เพื่อสร้างสรรค์ประสบการณ์ร่วมกัน
และเลือกใช้แนวทาง แนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมต่อไป