Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 เทคนิควิธีการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
บทที่ 5
เทคนิควิธีการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
๕.การใช้แบบประเมินผลพัฒนาการ
ข้อดี
ยืดหยุ่นได้
ทำได้อย่างต่อเนื่อง
ประหยัดเวลา รวดเร็ว
ไม่ซับซ้อน
สร้างแบบสำรวจ
ควรใช้ควบคู่กับแบบสังเกตพฤติกรรมอย่างมีระบบ
ตั้งวัตถุประสงค์
ข้อเสีย
วิเคราะห์ตีความข้อมูลด้วยความระมัดระวัง
มีข้อจำกัด
๑.การสังเกตพฤติกรรมเด็ก
จุดมุ่งหมายของการสังเกตพฤติกรรมเด็ก
วางแผนและส่งเสริม
ค้นหาจุดเด่น
เป็นจุดตั้งต้นของการวัดและประเมินความสามารถ
ตรวจสอบความก้าวหน้า
รู้พัฒนาการแต่ละด้านอย่างละเอียด
ใช้เป็นข้อมูลในการแก้ปัญหา
เป็นข้อมูลในการรายงานผู้เกี่ยวข้อง
รวบรวมข้อมูลไว้ในแฟ้มประวัติ ใช้ในการจัดกลุ่ม
ข้อดีของการสังเกตพฤติกรรม
กิจกรรมประจำวันดำเนินการปกติ
ครูได้ข้อมูลโดยตรง
เด็กอนู่ในสภาพธรรมชาติ
วิธีการเหมาะสมเป็นที่ยอมรับ
เด็กไม่ต้องใช้ความสามารถด้านอ่าน - เขียน
วิธีการสังเกตการสังเกตพฤติกรรมเด็ก
สังเกตเก็บข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับพฤติกรรมเด็กที่ต้องการศึกษา
การสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย วัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ข้อจำกัดของการสังเกตพฤติกรรมเด็ก
ไม่สามารถวัดความรู้สึกที่อยู่ภายใน
ทำได้ยากขณะที่ครูมีปฏิสัมพันธ์กับเด็ก
ตั้งจุดประสงค์ในการสังเกตและตีความหมาย
ระยะเวลาและจำนวนครั้งในการสังเกต
๗.การทำสังคมมิติ
ครูทราบบทบาทของเด็ก
เป็นเครื่องมือประเมินความสัมพันธ์ในกลุ่ม
สะท้อนโครงสร้างทางสังคมของห้องเรียน
๘.การใช้แบบทดสอบ
แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น
มุ่งวัดผลการเรียนการสอน
ยึดเนื้อหาและจุดมุ่งหมายในการสร้างบททดสอบ
แบบทดสอบมาตรฐาน
สร้างขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ
ยึดเนื้อหาและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่เป็นแกนร่วม
๔.แฟ้มผลงานเด็ก
ประสบการณ์
ความพยายาม
ความก้าวหน้า
ความสำเร็จ
๒.การสัมภาษณ์
หลักทั่วไปในการสัมภาษณ์
กำหนดจุดมุ่งหมาย วางแผนการสัมภาษณ์
เตรียมตัว รูปแบบคำถาม เครื่องมือ และสถานที่
ยุติการสัมภาษณ์อย่างเหมาะสม
ผู้สัมภาษณ์เป็นผู้ฟังที่ดี
ข้อจำกัดของการสัมภาษณ์
คำถามตรงจุดมุ่งหมาย ไม่ยากเกินไป
เวลาที่ใช้ในการตอบคำถามพอเพียง
สร้้างความไว้วางใจ ใช้ภาษาที่เหมาะสม
ข้อมูลที่ได้ต้องใช้ร่วมกับข้อมูลอื่นๆ
ประเภทของการสัมภาษณ์
แบบไม่มีโครงสร้างหรือไม่เป็นทางการ
แบบกึ่งโครงสร้าง
แบบมีโครงสร้าง
๖.การเขียนบันทึก
บันทึกความรู้สึก ความคิดเห็นได้
เป็นการสะท้อนความคิดของตนเอง
การบันทึกข้อมูลภายในชั้นเรียน
ข้อดี
ทราบเรื่องราวของเด็กเป็นรายบุคคล
ทราบสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นภายในห้องเรียน
ช่วยสะท้อนความคิด ในการสอนของครู
ข้อจำกัด
ครูต้องใช้เวลาในการบันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
๓.การเขียนบันทึกเกี่ยวกับตัวเด็ก
ความรู้ ความเข้าใจ และความสนใจ
ความสามารถในการถ่ายทอดเรื่องราว
ความจำกัดจำนวนคำศัพท์ การออกเสียง ปัญหาในการออกเสียง