Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท กรณีศึกษา ที่3 Dx.Myasthenia Gravis(MG) - Coggle Diagram
ระบบประสาท
กรณีศึกษา ที่3
Dx.Myasthenia Gravis(MG)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงของหนังตาตกทั้งสองข้าง
ข้อมูลสนับสนุน
Objective Data
ผู้ป่วยหนังตาตกทั้งสองข้าง
เหตุผล
ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหต
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการมองเห็นของผู้ป่วยเพื่อวางแผนให้การพยาบาล
2.บอกผู้ป่วยก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง เพื่อผู้ป่วยเข้าใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง
จัดที่นอนเรียบตึง
การทํากิจกรรมใด ๆ เช่น ยืน เดิน พยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะอาจหกล้มได
ดึงไม้กันเตียงขึ้นทุกครั้ง เพื่อป้องกันผู้ป่วยตกเตียง
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะอาการของผู้ป่วย
วัดค่าอิ่มตัวออกซิเจนในหลอดเลือดแดงปลายนิ้วมือทุก 4
ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะขาด
ออกซิเจนของผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมิน
1.หนังตาไม่ตกลงมาปิดลูกตาของผู้ป่วย
2.ผู้ป่วยสามารถมองเห็นได้ชัด
3.เสี่ยงต่อภาวะเสียสมดุลย์ของสารน้ําและอิเล็กโทรลัยต์ในร่างกายเนื่องจากรับประทานอาหารกลืนลำบาก
1.มีภาวะหายใจล้มเหลวเนื่องจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรง
ข้อมูลสนับสนุน
Objective Data
อัตราการเต้นของหัวใจ 28ครั้ง/นาที
หายใจเหนื่อย
On O2 canular
เหตุผล
ผู้ป่วยหายใจได้และทางเดินหายใจโล่ง
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยหายใจได้เอง
อัตราการเต้นของหัวใจ 16-20 ครั้ง/นาที
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอัตราการหายใจจังหวะความลึกปริมาตรอากาศเข้าออกจากปอดค่าความดันก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนและเครื่องช่วยหายใจตามแผนการรักษา
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็นเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งขึ้น
กระตุ้นใหผู้ป่วยทำกิจกรรมต่าง ๆ เท่าที่ผู้ป่วยสามารถทำได้มากที่สุด
ติดตามผล blood gas เพื่อประเมินประสิทธิภาพการหายใจเป็นระยะ ๆ และติดตามผล LFT เพื่ออดูผลข้างเคียงของยากดภูมิคุ้มกัน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา mestinon ตามแผนการรักษาพร้อมสังเกตผลข้างเคียงของยา ได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียนถ่ายเหลวปวดท้องน้ำลายมาก
4.แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องมีความวิตกกังวลเรื่องโรค
5.ผู้ป่วยและญาติขาดความรู้เกี่ยวกับการดําเนนของโรค
การวินิจฉัย
1.การตรวจหา muscle specific receptor tyrosinekinase antibody( MuSK) และ acetylcholinereceptor antibody(ACh-Ab)ในเลือด
2.ตรวจโดยกระตุ้นเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อนั้นซ้ำๆ จะพบว่ามีการตอบสนองของกล้ามเนื้อลดลง(decremental response)
3.Tensilon test ให้ผลบวก คือเมื่อฉีดยา edrophoniumprostigmine test โดยการtextฉีด prostigmine ขนาด1-1.5 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อ ส่งผลให้การทำงานของกล้ามเนื้อผู้ป่วยดีขึ้นอย่างชัดเจน
สาเหตุ
1.Acquired autoimmune เป็นโรคภูมิต้านทานต่อตนเองที่เกิดขึ้นภายหลังเกิดแล้ว
2.Transient neonatal จากได้รับสารแอนติบอดีจากแม่ผ่านมาทางรกทำให้เกิดอาการตั้งแต่แรกเกิด
3.Drug induced จากการกระตุ้นของยาในกลุ่ม Aminoglycosides,, Quinine, Procainamide และ Calcium channel blockers
4.Congenital myasthenia syndrome เป็นโรค แต่กำเนิดเกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
หนังตาตก
มองเห็นภาพซ้อน
อ่อนแรงของกล้ามเนื้อหน้า กล้ามเนื้อแขนขาในส่วนต้น รวมไปถึงกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ พูดไม่ชัด กลืนลำบาก เคี้ยวลำบาก
csae: ผู้ป่วยมีอาการ หนังตาตก หายใจเหนื่อย อ่อนเพลีย แขนขาอ่อนแรง กลืนลำบาก
การรักษา
รักษาด้วยยากดภูมิคุ้มกันชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยา azathioprine โดยยาน้ีจะออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์สารพันธุกรรมและลดการสร้างกรดนิวคลีอิกในกระบวนการแบ่งเพิ่มจ านวนเซลล์จึงมีฤทธิย์ับยัง้การเพิ่ม
จ านวนเซลล
รักษาด้วยยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด
ยา prednisoneออกฤทธิ์ ยับยั้งการตอบสนองในการสร้างแอนติบอดีและการตอบสนองผ่านเซลล์ โดยอาจจะลดปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์(Lymphocyte)
Plasma exchange หรือ plasmapheresis เป็นการกรองพลาสมาของผู้ป่วยเพื่อก าจัดแอนติบอดีในกระแสเลือดออกไปและทดแทนด้วยพลาสมาแช่แข็งหรืออัลบูมิน
การรักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลินทางหลอดเลือดดำซึ่งอิมมูโนโกลบูลินทำหน้าที่เป็นสารภูมิต้านทานหรือแอนติบิดีถูกสร้างมาจากเม็ดเลือดขาวชนิดชนิดลิมโฟไซต์ เซลล์บี (Bcell) ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย
การตัดต่อมธัยมัสออกเนื่องจากสาเหตุหลักในการเกิดโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดไมแอสทีเนียกราวิส ร้อยละ60-70 มาจากเนื้องอกของต่อมธัยมัส หรือต่อมธัยมัสโต
รักษาด้วยยากลุ่มที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะ
ซีทิลโคลีนเอสเทอเรส
ยา pyridostigmine ที่ใช้ในการรักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิด
ไมแอสทีเนียกราวิสออกฤทธิช้ากว่ายา edrophoniumchloride แต่มีค่าครึ่งชีวิตที่ยาวกว่าจึงไม่นิยมใช้ในการวินิจฉัยโรคแต่จะน ามาใช้ในการรักษา โดยจะเริ่มออกฤทธภายใน 15-30 นาทแีละมฤีทธคิ์งอย่ไูดน้ าน 3-4 ชั่วโมง
Case:แพทย์ให้การรักษาโดย On O2 cannular LPMให้สารน้ําทางหลอดเลือดดําคือ 5%DNSS 1,000 มิลลิลิตร ในอัตราการไหล 80 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติที่มีต่อตัวรับชนิดอะซีทิลโคลีนแบบนิโคตินิก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์จึงทำให้อะซีทิล-โคลีนที่หลั่งออกมาจากปลายประสาทไม่สามารถจับกับตัวรับได้ ทำให้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการซึมผ่านของเยื่อหุ้มเซลล์ต่อไอออนต่างๆ ไม่เกิดเกิดดีโพลาไรเซชั่นและไม่เกิดศักย์ไฟฟ้าที่แผ่นปลายประสาทมอเตอร์ จึงไม่มีสัญญาณที่กระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดตัว
Case: ผู้ป่วยหญิง อายุ26ปี มาด้วยอาการหายใจเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม สภาพเริ่มดูแล มีอาการหนังตาตกทั้งสองข้าง แขนขา ทั้งสองข้างเคลื่อนไหวได้ตามปกติ รับประทานอาหารกลืนลำบาก
การตรวจร่างกายและการตรวจพิเศษ
การตรวจร่างกาย
พบมีหนังตาตกข้างเดียว
เสียงหายใจแผ่วเบา
กล้ามเนื้อที่เป็นไม่มีอาการชา
มีอาการปวดกล้ามเนื้อเมื่อให้ผู้ป่วยออกแรงซํ้าๆ
Case
ผลการตรวจ
การตรวจร่างกาย : V/S RR=28 สูง
ผลตรวจแลป :Hb 15.6 gm / dl (คาปกติ 13.3-17.7) ปกติ
Hct 40% (คาปกติ 39.8-522) ปกติ
WBC 9.2 THSDXCumm (คาปกติ 4-11) ปกติ
PMN 58% (คาปกติ 50-60) ปกติ
Sodium 136 mEq / L (คาปกติ 136-140) ปกติ
Potassium 3.3 mEq / L (คาปกติ 3.5-4.5) ปกติ
Clorile 100 mEg / L (คาปกติ 100-110) ต่ำ
Bicabonate 29 mEWL (คาปกติ 22-32) สูง
อ้างอิง
วินิตา เฝ้าสนัเทียะ.(2560)โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดไมแอสทีเนียกราวิส.สืบค้น1พฤษภาคม2564,จากfile:///C:/Users/ASUS/Downloads/89532-Article%20Text-353681-1-10-20180711.pdf
นุชจรินทร พันธชนะ.(2560)โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดไมแอสทีเนียกราวิส.สืบค้น1พฤษภาคม2564,จาก
http://www.msdbangkok.go.th/dowload%20file/Personal/Succeed/RN/L7/receive220254/w_nujcharin.pdf
https://www.healthcarethai.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84-myasthenia-gravis/
สุนันทา บุญรักษา.การพยาบาลผู้ใหญ่(2558).สืบค้น1พฤษภาคม2564,จาก
http://www.olearning.siam.edu/component/content/article/44-2011-11-30-07-18-29/426-100-101-