Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน - Coggle Diagram
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระสำคัญของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความรู้ (Knowledge)
ความรู้เบื้องต้นขั้นพื้นฐานที่ใช้สอนในโรงเรียน
ความรู้ขั้นสูงเกี่ยวกับศาสตร์แขนงต่างๆ ที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพของบุคคล
ความรอบรู้เกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโลก
ทักษะ (Skills)
ทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ
ทักษะในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะในการวิเคราะห์และวางแผนล่วงหน้า
ทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับค่านิยม (Values)
ทักษะการสร้างส้มพันธภาพระหว่างบุคคล
ทักษะการอยู่ร่วมในสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างปลอดภัย
มุมมอง (Perspectives)
ปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของโลก
มนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติที่คล้ายคลึงกัน
การมองให้เข้าใจถึงชุมชนที่ตนอาศัยอยู่
ก่อนที่บุคคลจะทำการตัดสินใจ หรือชี้ขาดในเรื่องใดๆ จำเป็นต้องมองให้รอบด้าน
เนื่องจากมนุษย์มีความสนใจและพื้นฐานที่แตกต่างกัน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทุกเรื่องได้โดยลำพัง
นอกจากการเป็นประชากรของประเทศที่ตนอาศัยอยู่แล้ว คนทุกคนเป็นประชากรของโลก
การตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าประเภทใดประเภทหนึ่ง ที่แสดงออกโดยบุคคลในสถานที่หนึ่ง มีการเลือกปฏิบัติตามหลักป้องกันไว้ก่อนเกิดความเสียหาย
ค่านิยม (Values)
การให้ความเคารพและใส่ใจต่อประชาคมแห่งชีวิต
ความสมบูรณ์มั่งคั่งของระบบนิเวศ
ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
ประชาธิปไตย อหิงสา และสันติภาพ
ทศวรรษสหประชาชาติว่าด้วยการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายหลัก
เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษาและการเรียนรู้
เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอน
เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่างๆ มีส่วนร่วมในการปฏิรูปหรือจัดระบบการศึกษา
เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของประเทศต่างๆ
วัตถุประสงค์
ให้ข้อมูลที่ทันสมัยแก่หน่วยงานหลักด้านการศึกษาและการเรียนรู้ ในทิศทางที่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
อำนวยความสะดวกและจัดหาเครือข่ายงานเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
จัดหาช่วงเวลาและโอกาสในการพัฒนาและส่งเสริมวิสัยทัศน์ รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสร้างความตระหนักและการเรียนรู้แก่สาธารณชน
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
พัฒนายุทธศาสตร์ในทุกระดับ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ต้องระดมสมองจากทุกฝ่ายที่อยู่นอกกระทรวงศึกษาธิการด้วย มาช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาความด้อยคุณภาพของการศึกษาไทยอย่างวิพากษ์วิจารณ์ และหาทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ให้ถึงรากเหง้า
หาทางออกในเชิงปฏิรูปโครงสร้างพื้นฐาน
เพิ่มความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนส่วนใหญ่ที่ยากจนนั้น สัมพันธ์กับคุณภาพการศึกษาโดยรวม
กลยุทธ์การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การพัฒนากระบวนการเรียนการสอน
การปรับปรุงระบบการบริหารการศึกษา
อุปสรรค และความท้าทายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 1 การเสริมสร้างความตระหนัก
ประเด็นท้าทายข้อที่ 2 การบูรณาการหลักสูตร
ประเด็นท้าทายข้อที่ 3 การปฏิรูปการศึกษา
ประเด็นท้าทายข้อที่ 4 นิยามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 5 การมีส่วนร่วมของชุมชน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 6 การบูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู้
ประเด็นท้าทายข้อที่ 7 บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดขอบ
ประเด็นท้าทายข้อที่ 8 การพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ประเด็นท้าทายข้อที่ 9 การจัดระบบงบประมาณและปัจจัยสนับสนุน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 10 การกำหนดนโยบายส่งเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย
เป้าหมายหลัก
เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่างๆ มีส่วนร่วมในการปฏิรูปหรือจัดระบบการศึกษาให้ สอดคล้องกับบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของประเทศต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษ
กลยุทธ์หลัก
การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ที่ตรงกัน
รัฐควรมีบทบาทริเริ่ม และกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย การวางแผน และการดำเนินงาน
เนื่องจากการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีลักษณะบูรณาการระหว่างสาขาความรู้ต่างๆ
การดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน จำเป็นต้องใช้ทักษะหลายๆ ด้าน
การศึกษาวิจัย และการนำผลงานวิจัย หรือนวัตกรรมที่ค้นพบจากการวิจัย มาใช้ในทางปฏิบัติ ถือเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยให้งานด้านส่งเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เทคโนโลยีการสื่อสารและข้อมูล นับเป็นกลไกสนับสนุนที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
การติดตามและประเมินผลความสำเร็จ ของการดำเนินงานตามเป้าหมายแห่งทศวรรษ