Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรค - Coggle Diagram
การสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรค
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
หมายถึง การดำเนินงาน หรือกิจกรรมต่างๆให้ได้มาซึ่งข้อมูล ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดโรค ภัยไข้เจ็บ ด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในทางระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อม การชันสูตรทางห้องปฎิบัติการ เพื่อให้ความรู้ที่สามารถอธิบายถึงสาเหตุการเกิดโรค ที่มีเหตุผลที่เชื่อถือได้
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
หมายถึง การรวบรวมข้อมูลรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย/ผู้สัมผัสโรคโดยใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และสังเกตในขณะซักถาม
การสอบสวนการระบาด
หมายถึง การเกิดโรคในชุมชนที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรค >จำนวนความถี่ของโรคในช่วงระยะเวลาเดียวกัน ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตรายซึ่งไม่เกิดขึ้นในชุมชนก่อน/เคยเกิดขึ้นมานานแล้วและกลับมาเป็นอีก แม้จะมีผู้ป่วยเพียง1ราย ถือว่าเป็นการระบาด การระบาดแบ่งออกเป็น 2ลัษณะ คือ
1.Outbreak คือ การเกิดโรคภัย ไข้ เจ็บ /เหตุการณ์ผิดปกติที่มีผิลกระผลต่อสุขภาพของคน/สัตว์ ตั้งเเต่2ขึ้นไปในระยะเวลาสั้นๆ Ex.โรคอาหารเป็นพิษในงานเลี้ยงโต๊ะจีนแห่งหนึ่ง
2.Epidemic คือ การเกิดโรคภัย ไข้ เจ็บ/เหตุการณ์ผิปกติที่มีผลกรทบต่อสุขภาพโดยมีความถี่/จำนวนของคน/สัตว์ที่เกิดโรคมากกว่าผิดปกติเกินกว่าจำนวนที่มีอยู่ในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน
ชนิดของการระบาดของโรค
1.การระบาดของโรคจากแหล่งแพร่เชื้อร่วม (Common-sourceepidemics) คือ การระบาดของโรคเกิดจากกลุ่มบุคคลไปสัมผัสแหล่งแพร่เชื้อโรคร่วมกันและในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทำให้เกิดป่วยในช่วงระยะเวลาต่างกัน ไม่เกินหนึ่งระยะเวลาฟักตัวของโรค
2.การระบาดของโรคจากแหล่งแพร่เชื้อกระจาย (Propagated-sourceepidemics) คือ การระบาดของโรคแบบนี้เกิดจากการแพร่เชื้อจากคนหนึ่ไปสู่อีกคนหนึ่ง (Person-to-person transmission)โดยทางตรง/ทางอ้อมก็ตาม
ขั้นตอนในการสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรค
1.การตรวจสอบการวินิจฉัย คือโรคอาหารเป็นพิษ อาจมีอาการท้องเดิน คล้ายอหิวาตกโรค จำเป็นต้องตรวจสอบการวินิจฉัยให้แน่นอนก่อน
จุดประสงค์
- เพื่อเป็นแนวทางที่จะได้ศึกษาการระบาดของโรคที่ถูกต้องต่อไป -เพื่อได้จำนวนผู้ป่วยที่ถูกต้อง
การตรวจสอบ
-การวินิจฉัยทางคลีนิก -การวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการ -ผลการตรวจทางพยาธิสภาพ/ผลการตรวจศพ
2.ตรวจสอบว่ามีการระบาดของโรคอยู่จริง คือ การตรวจสอบดูว่ามีการระบาดของโรคอยู่ในชุมชนจริงหรือไม่ ทำได้โดยพิจารณาเปรียบเทียบอัตราผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นขณะกับอัตราช่วงระยะเวลาเดียวกันกับช่วงปีที่แล้ว การที่มีการระบาดของโรค
3.ประเมินผลอย่างรวดเร็วเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆที่น่าจะเป็นสาเหตุของการระบาด คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเพื่อบอกคราวๆ
3.1 การมีประสบการณ์ร่วมกัน
คือ การซักประวัติเกี่ยวกับประสบการณ์นำไปสู่การสืบสวนสืบสวนสาเหตุการระบาดของโรค
3.2 สิ่งเเวดล้อมของกลุ่มผู้ป่วย
คือ จะพิจารณาสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ป่วยว่ามีปัจจัยใดน่าจะเป็นสาเหตุการระบาดของโรค โดยเฉพาะในด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
5.การวิเคราะห์ข้อมูล คือข้อมูลพื้นฐานในทางระบาดวิทยา ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ และเวลา
การรวบรวมข้อมูล 4.1 วางกฏเกณฑ์การเลือกและการจัดกลุ่ม คือ การรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาทางระบาดวิทยาควรระบุเกณฑ์ในการเลือกและการจัดกลุ่ม Ex.ผู้ป่วยเป็นโรค ผู้สงสัยป่วยเป็นโรค 4.2การค้นหาผู้ป่วยและลักษณะของผู้ป่วย คือ ผู้ป่วยทั้งหมดที่รับการวินิจฉัยที่ยืนยันแล้วและกำลังตรวจวินิจฉัยชื่อรายละเอียดต่างๆ สถานที่ เวลา วันเริ่มป่วย อาการป่วย การฉีดวัคซีนป้องกัน และผลการตรวจปฎิบัติการ 4.3การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม คือรายงานครั้งแรกเกี่ยวกับการระบาดของโรคอาจได้มาจากโรงพยาบาลสถานที่ 4.4การค้นหาประสบการณ์ที่พบร่วมกันในกลุ่มผู้ป่วย คือ การซักถามประวัติทางการระบาดวิทยาในกลุ่มผู้ป่วยเพื่อหาประสบการณ์/สิ่งที่ผู้ป่วยได้กระทำร่วมกัน 4.5การศึกษาสภาวะสิ่งแวดล้อมขณะมีการระบาดของโรคและเปรียบเทียบสภาวะก่อนมีการระบาด คือ ช่วยให้ทราบช่องทางที่สำคัญในการสืบสวนสอบสวนหาสาเหตุของการระบาดของโรค
6.ตั้สมมุติฐานการเกิดโรคและพิสูจน์สมมุติฐาน ใช้หลักการเปรียบเทียบในกลุ่มผู้ป่วยกับกลุ่มไม่ป่วย วิธีการที่ใช้บ่อย
7.ศึกษาสภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆ -การศึกษาทางห้องปฎิบัติการ การเพาะเชื้อ การตรวจทางเทคโนโลยี -การศึกษาทางสภาพแวดล้อม การตรวจคณภาพน้ำ การสำรวจพื้นที่ -การศึกษาอื่นๆ
8.การจัดการเกี่ยวกับการระบาดของโรค ขั้นตอนประกอบด้วย 8.1 การรักษาผู้ป่วย 8.2 การสืบหาประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคและกลุ่มประชากรที่เป็นพาหะนำโรค 8.3 การป้องกันการแพร่
9.การรายงานผลการสืบสวนสอบสวน 9.1 ลักษณะของการระบาดของโรคตามบุคคล สถานที่ และเวลา 9.2 สาเหตุของการระบาดของโรคสิ่งที่ทำให้เกิดโรค แหล่งเเพร่เชื้อ 9.3 ข้อแนะนำในการป้องกันการระบาดครั้งต่อไป
บทบาทพยาบาลในการสอบสวนทางระบาดวิทยา
พยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการเฝ้าระวังโรค มีข้อมูลบันทึกเกี่ยวกับการเกิดโรคอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง
ร่วมดำเนินการ/ให้ความร่วมมือตามขั้นตอนการสอบสวนโรคทในขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบของพยาบาแต่ละหน่วยงาน
ขั้นตอนการที่พยาบาลมีส่วนร่วมในการสอบสวนโรค
นำรายงานผลการสอบสวนโรคมาใช้ในการดำเนินมาตราการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและควบคุมโรคในกลุ่มบุคคล/ชุมชนที่รับผิดชอบ