Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tetanus บาดทะยัก - Coggle Diagram
Tetanus บาดทะยัก
อาการและอาการแสดง
-
อาการชักเกร็งของแขนขาและกล้ามเนื้อทุกส่วนจะเกิดขึ้นเป็นพัก ๆ เพียงช่วงสั้น ๆ เมื่อถูกสิ่งที่มากระตุ้น
ผู้ป่วยจะหายใจได้ลำบาก ถ้าอาการหดเกร็งและแข็งตัวของกล้ามเนื้อเกิดขึ้นยาวนาน ทำให้ขาดอากาศและตัวเขียว
ระบบประสาทอัตโนมัติผิดปกติ เช่น ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดแขนขาหดตัว หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดจังหวะ หรืออาจเกิดหัวใจหยุดเต้น มีไข้สูงมาก และ/หรือมีเหงื่อออกทั่วตัว
-
-
การรักษา
การให้สารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี (Antibody) เข้าไปทำลายสารพิษที่อยู่ในกระแสเลือด ด้วยการฉีดอิมมูนโกลบูลินต้านพิษบาดทะยัก (Human tetanus immune globulin - HTIG)
-
ให้การรักษาตามอาการ ให้ยาระงับชัก ยาลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ งดอาหารและน้ำทางปากในขณะที่มีอาการเกร็งหรือชัก ให้อาหารทางหลอดเลือด
-
พยาธิสภาพ
เกิดจาก Ganglioside ที่ myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบและ neuronal membrane ในไขสันหลัง เข้าไปใน Axon ของ cell ประสาท ทำให้หลั่งสาร GABA มีผลยับยั้งต่อ Motor neuron ทำให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรง
สารพิษก็จะเข้าสู่กระแสเลือดกระจายไปตามเส้นประสาทและออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อที่รอยต่อกล้ามเนื้อร่วมประสาท (Neuromuscular junction) และประสาทส่วนกลาง กระตุ้นให้กล้ามเนื้อทั่วร่างกายเกิดการหดเกร็ง (Spasm) และแข็งตัว (Rigidity)
ในขณะเดียวกันก็ออกฤทธิ์ที่ระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้ชีพจรและความดันผิดปกติ เหงื่อออกมาก หลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน
การวินิจฉัย
-
-
การตรวจ
-
-
spatula test โดยใช้ไม้กดลิ้น(spatula) แตะบริเวณของ orophalynx ผู้ป่วยที่ปกติจะเกิด gag reflex และจะพยายามขย้อน กรณีเป็นบาดทะยักผู้ป่วยกลับกัดไม้กดลิ้น จาก reflex spasm ของกล้ามเนื้อขากรรไกร
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Clostridium tetani ที่มีสปอร์ที่แพร่กระจายตามบริเวณฝุ่น หรือพื้นดิน และมูลสัตว์ และเชื้อแบคทีเรียนี้สามารถมีชีวิตอยู่ได้นานตามพื้นที่ต่าง ๆ นอกร่างกาย แบคทีเรียมีความทนทานต่อความร้อน จึงทำให้ง่ายต่อการติดเชื้อ
-