Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประกันสุขภาพ - Coggle Diagram
ระบบประกันสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพและกระบวนการรักษา
การเปลี่ยนแปลงการอภิบาลระบบ
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
การเงินและการเจ็บป่วยในระบบสุขภาพ
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ
A ประชาชน/ผู้ป่วย B ผู้ให้บริการ C กองทุน D รัฐ/กงค์กรวิชชาชีพ
ประเภทของการประกันสุขภาพ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
รูปแบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
• สวัสดิการสังคม
• ประกันสุขภาพสมัครใจ (บัตรสุขภาพ)
• ประกันสังคมภาคบังคับ
• กองทุนเงินทดแทน
• สวัสดิการข้าราชการ
• ประกันผู้ประสบจากรถ
• ประกันสุขภาพเอกชน
ความเหลื่อมล้ำของระบบหลักประกันสุขภาพ
ประชาชนคนไทยกว่าร้อยละ 99.9 ต่างอยู่ในความคุ้มครองของระบบหลักประกันสุขภาพแบบใดแบบหนึ่ง ได้แก่ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กองทุนประกันสังคม (สปส.) และกรมบัญชีกลางซึ่งดูแลข้าราชการทั้งประเทศรวมทั้งยังมีอีกส่วนหนึ่งที่ซื้อประกันภัยกับ บริษัท เอกชนเป็นตัวเสริม
แต่เนื่องจากทั้งสามระบบหลักของรัฐได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐไม่เท่ากันจึงเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในด้านคุณภาพการบริการสำหรับแต่ละกลุ่มประชากรตามมาด้วย
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน - กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก - จริยธรรมการให้บริการ โดยให้บริการมากเกินจำเป็น
องค์กรประกัน คัดกลุ่มกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริการ - จริยธรรมการให้บริการ – การให้บริการเกินความจำเป็น- การให้บริการต่ำกว่าที่ควรเป็น
การเงินการคลังสุขภาพ ( Health Care Financing )
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณะสุข เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง โดยมี เป้าหมาย (Gold) คือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด อย่างถ้วนหน้า
เป้าหมาย
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
ทำให้มีเงินเพยงพอในการจัดบริการสุขภาพ
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
จากภาครัฐ งบประมาณ รายจ่ายจากองค์กร สวัสดิการข้าราชการ
ข้อดีและข้อเสีย
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
จากคลังอื่น ๆ เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินอื่น ๆ
ข้อดีและข้อเสีย
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
จากเอกชน รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
ข้อดีและข้อเสีย
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ หาบริการอื่นทดแทนได้
ปัญหา
เกิดความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ
การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
-ภาระเบี้ยประกัน
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
ไทยมีระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบภายใต้ 3 กระทรวงหลัก
1 กระทรวงการคลัง
2 กระทรวงสาธารณสุข
3 กระทรวงแรงงาน