Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing)
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข (Process of funding health sevice) เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง เป้าหมายคือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุดอย่างถ้วนหน้า
ชุดสิทธิประโยชน์ (Benefit packages)
เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพและไม่เกิดภาวะล้มละลายจากการจ่ายค่าบริการ
มุ่งมั่นจะทำให้ประชาชนได้เข้าถึงระบบบริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง
มีเป้าหมายที่จะทำให้ การดูแลคนกลุ่มนี้ไม่ให้ล้มละลายทางเศรษฐกิจ
ทำให้เขามีความมั่นใจว่าเราดูแลเขาได้ตลอดทางตั้งแต่เกิดจนตาย
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ (Health financing objective)
จัดระบบกลไกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด Setting up the system for managing the health care resources
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน Access and Coverage of health care sevices
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการ How to get enough revenue for healyh sevice delivery
Health Financing Process
Revenue Collection
Risk Pooling
Resource Allocation and Purchasing
Sevice Provision
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (การถูกเลิกจ้างงาน รายจ่ายเพิ่มขึ้น)
แหล่งการคลังอื่นๆ
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาครัฐ
ระบบบริการภาคเอกชน
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
แหล่งเงินจากภาครัฐ
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพ3 ระบบ อยู่ภายใต้กระทรวงหลัก
กระทรวงสาธารณสุข
สภาพปัญหา
-เกิดความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ
-การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
-ภาระเบี้ยประกัน
-การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงการคลัง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงการอภิบาลระบบ
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพและกระบวนการรักษา
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก(Adverse selection) กรณี voluntary insurance
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดย
ผู้ให้บริการ
การให้บริการเกินความจำเป็น
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
จริยธรรมการให้บริการ
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ความไม่สมมาตรของข้อมูล
(Asymmetric Information)
ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ายมีนั้นมีไม่เท่ากัน
Adverse selection
กลุ่มหนึ่งอยู่ในความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มอยู่ในความเสี่ยงต่ำ และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าใครอยู่กลุ่มไหน
Moral hazard
หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็จ่าย
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ
A ประชาชน/ผู้ป่วย
B ผู้ให้บริการ
C กองทุน
D รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ประเภทของการประกัันสุขภาพ
(Type of health Insurance)
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
ระบบประกันสุขภาพของไทย
ประกันสังคม 11.787
นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1คนขึ้นไป จ่ายเงินสมทบกองทุนภายใน 30 วัน
นายจ้างจ่ายร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน
รัฐบาลร่วมจ่ายร้อยละ 2.5 ของเงินเดือน
ผู้ประกันตนร่วมจ่ายละ 4.5 ของเงินเดือน
พนักงานส่วนท้องถิ่น 0.611
ผู้ประกันตนคนพิการ 0.029
สิทธิอื่นๆ 0.473
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 4.895
หลักประกันสุขภาพ 48.153
ผู้ที่ยังไม่ลงทะเบียนสิทธิ 0.034
การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to provider)
จ่ายล่วงหน้าตามข้อตกลง (Prospective payment)
จ่ายย้อนหลักตามบริการ
แรงจูงใจสำคัญสำหรับผู้ให้บริการ
รายกิจกรรม
เพิ่มจำนวนผู้มารับบริการ เพิ่มปริมาณที่ให้บริการ เลือกให้บริการราคาแพง
เหมาจ่ายรายหัว
เพิ่มจำนวนผู็มาขึ้นทะเบียน แต่ลดการมารับบริการของแต่ละคน และลดปริมาณที่ให้บริการลง
งบยอดรวม
ลดจำนวนผู้ป่วย ลดจำนวนบริการลง
ตามรายป่วย
เพิ่มจำนวนผู้รับบริการ แต่ลดปริมาณที่ให้บริการ และเลิกให้บริการที่ราคาถูกลง
ราคารายวัน
เพิ่มจำนวนวันนอนของผู้ป่วย
เงินเดือน
ลดจำนนผู้ป่วย ลดจำนวนบริการลง
อัตราคงที่
ให้บริการเฉพาะส่วนที่จะมีเงินเพิ่มพิเศษ ละเลยบริการอื่นๆ
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน) ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ