Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ
(Health Care Financing)
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข(Process of funding health service)เพื่อใช้ตามพันธกิจหลัก/รอง โดยมีเป้าหมาย(Gold) คือ
สถานะสุขภาพของประชนดีขึ้นสูงสุด(Maximise health)อย่างถ้วนหน้า(Health for all)
ชุดสิทธิประโยชน์(Benefit packages)
:เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพและ
ไม่เกิดภาวะล้มละลายจากการจ่ายค่าบริการ
เป็นเรื่องสำคัญของ สปสช. ที่มุ่งให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพ
อย่างทั่วถึงแลละเท่าเทียม
มี 3 มิติ
Services:which services are covered?
cost sharing
Population:who is covered?
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ(Purchase):เลือกซื้อบริการอะไร
การจ่ายค่าบริการ(Relbursement)
เพื่อให้ผู้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
มีประสิทธิภาพในการริการสูง
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการที่เท่าเทียม
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการุขภาพ
ประเทศปานกลาง:จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย:จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
ประเทศยากจน:จะหาเงินจากไหนให้พอในการจัดบริการ
Health Financing Process
ประกอบด้วย
2.Risk Pooling
3.Resource Allocation and Purchasing
1.Revenue
4.Service Provision
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ
ข้อดี-ข้อเสีย
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี
ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
เช่น
รายจ่ายจากองค์การส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
งบประมาณภาครัฐ
แหล่งการคลังอื่นๆ
เช่น
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
ข้อดี-ข้อเสีย
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
ไม่เสถียรภาพ
แหล่งเงินจากเอกชน
เช่น
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ
ข้อดี-ข้อเสีย
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับวิกฤตเศรษฐกิจ
หาบริการอื่นทดแทนได้
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
สภาพปัญหา
การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
ภาระเบี้ยประกัน
เกิดความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ
การจักการบริหารด้านการเงินการคลัง
เกิดจาก
แหล่งเงินจากรัฐ
ระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบภายใต้
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงการคลัง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
ตัวแปรที่มีผลต่อสมดุลการเงิน
รายรับ:เงินสมทบ ภาษี รายได้ อัตราการพึ่งพา
รายจ่าย:ต้นทุนต่อหน่วยบริการ
ปัจจัยที่มีผล
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
กรเปลี่ยนแปลงระบบอภิบาล
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพและกระบวนการรักษา
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกันและผู้ให้บริการ
Adverse selection
กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูงอีกกลุ่มหนึ่งมีวามเสี่ยงต่ำ ผู้เอาประกันต่างรู้อยู่แก่ใจแต่บริษัทประกันไม่ทราจึงต้องตั้งราคาเบี้ยประกันเป็นราคากลางๆ
Moral hazard
เกิดหลังป่วย:ex post คือ ถ้าเจ็บป่วยเล้กน้อยเราจะรอดูอาการก่อนจนหายเอง
เกิดก่อนป่วย:ex-ante คือ เมื่อเรารูว่าไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง เราอาจไม่ระวังสุขภาพ
หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาประกันแล้วมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป ทำให้บริษัทประกันต้องรับมือกับการจ่ายค่าสินไหมทดแทน่อยโดยไม่จำเป็น
Asymmetric Information
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล คือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ายไม่เท่ากัน
ผู้ขายอาจมีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มากกว่าผู้ซื้อ ทำให้เกิดความล้มเหลวของการตลาด
ระบบประกันสุขภาพ
องค์ประกอบในระบบ
กองทุน
รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ผู้ให้บริการ
ประชาชน/ผู้ป่วย
ประเภทของการประกันสุขภาพ
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ(Voluntary health insurance) เช่น ประกันสุขภาพเอกชน
Welfare:สวัสดิการสังคม
การประกันสุขภาพแบบบังคับ(Compulsory insurance) เช่น กองทุนเงินทดแทน ประกันผู้ประสบภัยจากรถ
Fringe benefit:สวัสดิการข้าราชการ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี(Tax-based health insurance)
รูปแบบประกันสุขภาพในไทย
ประกันสังคม กองทุนทดแทน การประกันภัย พรบ.
:การประกันภาคบังคับ
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า(30 บาทรักษาทุกโรค)
สวัสกิการรักษาพยาบาล
ประกันกับบริษัทเอกชน:แบบสมัครใจ
การจ่ายเงินให้สถานบริการ
จ่ายย้อนหลังตามบริการ
จ่ายล่วงหน้าตามข้อตกลง
จ่ายแบบผสม
แรงจูงใจสำหรับผู็ให้บริการ
กลไกการจ่ายเงิน
งบยอดรวม
เงินเดือน
ตามรายป่วย
ราคารายวัน:เพิ่มวันอนของผู้ป่วย
เหมาจ่ายรายหัว
อัตราคงที่
รายกิจกรรรม
ปัญหาระบบสุขภาพในไทย
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ควมไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม
อัตราการคืนทุ่นต่ำในบัตรสุขภาพ
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
Health Finance
3.0 : Diagnostic-based payment
4.0 : Value-based payment
2.0 : Capitation-based payment
1.0 : Activity-based payment