Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อรูมาตอยด์ Rheumatoid arthritis, อาการและอาการแสดง, การรักษา, สาเหตุ…
-
อาการและอาการแสดง
-
-
ลักษณะจำเพาะ คือ มีอาการปวดพร้อมกัน และคล้ายคลึงกัน ทั้ง สองข้าง และข้อ จะบวมแดงร้อน นิ้วมือ นิ้วเท้าจะบวมเหมือนรูปกระสวยต่อมาอาการอักเสบจะลุกลามไปทุกข้อทั่วร่างกายตั้งแต่ข้อขากรรไกรลงมาที่ ต้นคอ ไหปลาร้า ข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ ข้อนิ้ว มือ ลงมาจนถึงข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า
มีอาการปวดกล้ามเนื้อนำมาก่อนหลายสัปดาห์จึงจะมีการอักเสบของข้อ ถ้าข้ออักเสบเรื้อรังหลายปี ข้ออาจแข็ง ผิดรูปและพิการได้
อาการในระบบอื่นๆนอกเหนือจากข้อ
หลอดเลือดอักเสบ มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ตา ระบบประสาท ผิวหนังเกิดหลอดเลือดอุดตัน ได้ง่าย ทำให้เกิดเนื้อตายบริเวณปลายนิ้วและเป็นแผล มีอาการชา
-
อาการทางปอด มี diffuse interstitial fibrosis อาจมี nodule ในเนื้อ ปอด มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
ม้ามโตพบได้ร้อยละ10
การรักษา
-
การรักษาด้วยยาต่อต้านการอักเสบ เช่น แอสไพริน ยาต่อต้านการอักเสบไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAID)กลูโคคอร์ติดอยด์ชนิดรับประทานและฉีดเข้าข้อ
การรักษาให้โรคสงบด้วยGold salts. D-Penicillamine โดยเฉพาะในรายที่โรครุนแรงบ่อยบ่อยโดยหวังควบคุมให้โรคสงบ
ยากดอิมมูน (immunosuppressive drug)ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยที่โรครุนแรงและก้าวหน้าไปไม่ตอบสนองต่อยาต่อต้านการอักเสบเช่นcyclophosphamide, azathioprne, 6- mercaptopurine เป็นต้น
การทำ plasmapheresis ในรายที่เป็นผู้ป่วยหนักและคุกคามชีวิตจากหลอดเลือดอักเสบหรือเลือดหนืดและรักษาด้วยยาอื่นไม่ได้ผล
กายภาพบำบัดลดการหดตัวของกล้ามเนื้อและลดการตึงของข้อโดยใช้ความร้อนและอาบพาราฟีนการออกกำลังกายการปรับกิจวัตรประจำวันและการใช้เครื่องมือช่วย
สาเหตุ
-
การสร้างแอนติบอดี้ต่อต้าน IgG ยังอธิบายไม่ได้แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสหรือ แบคทีเรียนำมาก่อน เมื่อรูมาตอยด์แฟคเตอร์จับ กับ Ig G เกิดแอนติเจน-แอนติบอดี้ คอมเพลกซ์ทำให้เกิดPhegocytosisและโพรสตาแกลนดิน ทาให้เนื้อเยื่ออักเสบและมีการทำลายตามมา
-
ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากกลไกทางระบบอิ่มมูลร้อยละ 70 ตรวจพบรูมาตอยด์แฟคเตอร์ แสดงว่ามีการสร้างแอนติบอดี้ตรวจพบในซีรั่ม
-
-
พยาธิสภาพ
-
-
antigen >>> กระตุ้น >>> T-cell ในเยื่อบุข้อเกิดการแบ่งตัวขึ้น >>>T-cell สร้าง Cytokines ที่ก่อให้เกิดการอักเสบ(Proinflammatorycytokines)และต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory cytokines)
T-cell กระตุ้นเซลล์ชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ในเยื่อบุข้อ เช่น fibroblast-like synoviocyte, B-cells, dendritic cells และ monocyte ทำให้มี การสร้าง Cytokine มากขึ้น
ทำลายโครงสร้างของข้อมากขึ้น
ความหมาย
-
เป็นโรคเรื้อรังมีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน สวนใหญ่จะเป็นข้อเล็กๆเช่นข้อนิ้วมือข้อมือและเกิดเหมือนกันทั้งสองข้างอาจเกิดกับกระดูกคอขากรรไกรข้อไหล่ข้อศอกข้อสะโพกข้อเข่าและข้อเท้ามีการทำลายของข้อไปเรื่อยเรื่อยเนื่องจากมีproliferativeของข้อและถูกแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อใหม่ทำให้เกิดอาการปวดข้อคอตึงและบวม
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์พบได้บ่อยในสองช่วงอายุ คือ ช่วงอายุ 20-30 ปี และ 50-60 ปี โดยพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายในช่วงอายุน้อย แต่ในช่วงอายุมาก พบได้ทั้ง 2 เพศเท่าๆกัน
1.การจัดการควบคุมอาการปวดข้อทั้งในระยะรุนแรงและระยะปกติเพื่อให้เกิดความสุขสบายและไม่เกิดความพิการของข้อมากขึ้นเช่น
-
การใช้ความเย็นในระยะเจ็บปวดเฉียบพลันและระยะรุนแรงจะมีผลดีในการลดการปวดข้อและลดการเกร็งของกามเนื้อลดอาการบวม
การใช้ความร้อนไม่ขวัญใช้ระยะรุนแรงเพราะมีการอักเสบของข้อมากอาจทำให้กระดูกอ่อนถูกทำลายมากขึ้นแต่ในระยะเรื้อรังสามารถใช้น้ำอุ่นช่วยลดอาการตึงพ่อตอนเช้าและรู้สึกสุขสบาย
2.คงไว้ซึ่งความสมดุลย์ระหว่างการมีกิจกรรมและการพักผ่อนเพื่อไม่ให้เกิดความพิการของข้อข้อติดแข็งจากการไม่ได้ใช้และมีการพักข้อ
-
-
การจัดท่านอนหลีกเลี่ยงการหนุนหมอนและการใช้หมอนรองใต้เข่าซึ่งจะทำให้ข้องผิดปกติและยิ่งทำให้ข้อพิการมากขึ้น
3.ส่งเสริมการทำหน้าที่และพัฒนาการให้ถึงขีดสูงสุดภายใต้ระบบสังคมและความสามารถของตนเองสามารถดำรงบทบาทในสังคมได้เช่นการปรับกิจกรรมในชีวิตประจำวันให้เหมาะสมเรียนรู้การเผชิญกับความเจ็บป่วยการปรับของใช้ในบ้านเกี่ยวกับงานจะแก้ไขความจำกัดในการทำงานกิจกรรมบางอย่างและสามารถเคลื่อนไหวได้อิสระ
-
-
- เรียนรู้และวิธีการลดความเครียดอันเกิดจากความเจ็บป่วยและจากการมีข้อจำกัดสามารถปรับตัวได้เพื่อลดการกำเริบของโรครูมาตอยด์
-
- ใช้ความพยายามในการเรียนรู้และปรับอัตมโนทัศน์ในการยอมรับกับข้อจำกัดที่อาจเกิดขึ้นและสอดแทรกกิจกรรมการดูแลตนเองให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
-