Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:red_flag:การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก…
-
โรคลมชัก
(Epilepsy)
-
พยาธิสภาพ ความผิดปกติที่เซลล์ประสาททำให้ปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิด ปกติไปยังส่วนต่างๆของสมองทำให้เกิดอาการชักและควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ได้
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากชักเป็นเวลานาน
กิจกรรมการพยาบาล
:red_flag:จัดท่าให้ผู้ป่วยเด็กนอนหงายหายใจได้สะดวกโดยจัดให้นอนตะแคงหน้า
:red_flag: ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
:red_flag:ให้ออกซิเจนตามความเหมาะสม ตามแผนการรักษา
- เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุหรืออันตรายจากการชัก
กิจกรรมการพยาบาล
:red_flag: จัดให้เด็กนอนราบ ใช้ผ้านิ่มไป หนุนบริเวณใต้ศีรษะ
เพื่อป้องกันไม่ให้ศีรษะกระแทก และไม่ควรเคลื่อนย้ายเด็กขณะชัก
:red_flag: คลายเสื้อผ้าให้หลวมโดยเฉพาะรอบๆ คอ เพื่อให้หายใจได้สะดวก
:red_flag:จัดสิ่งแวดล้อมเตียงให้ปลอดภัย
-
Chronic hydrocephalus
ช่วงแรกจะยังไม่มีอาการ
แต่เมื่อโพรงสมองโตขึ้น เนื้อสมองเหี่ยวลง
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นช้าๆ
เด็กจะมีหน้าผากนูน ปวดศีรษะ อาเจียน
-
-
-
มีอาการคล้ายกัน มีอาการเกร็งหรือกระตุกกล้ามเนื้อที่แขนขา ร่างกายบิดเกร็ง สั่น ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระได้
-
ชักจากไข้สูง = เด็กที่มีอายุต่ำกว่า5ปี เกิดจากการที่สมองเด็กยังเล็กยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่มีโอกาสชักได้เมื่อถูกกระตุ้นจากภาวะไข้สูง
โรคลมชัก = พบได้ทุกช่วงวัย โดยเฉพาะคนอายุน้อย เกิดได้ทุกสาเหตุมี่มีผลกระทบต่อสมอง เช่น การติดเชื้อของสมอง , เยื่อหุ้มสมอง
อ้างอิง
ขวัญจิต เพ็งแป้น.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก.
เอกสารการสอนวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2.
-