Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ Health care financing - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ Health care financing
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ
ซื้ออะไร
จ่ายค่าบริการ
เพื่อให้มีแรงจูงใจบริการ มีประสิทธิภาพบริการสูง จ่ายค่าบริการอย่างไรอัตราเท่าใด
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
จ่ายอย่างไรให้ได้บริการเท่าเทียม
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศจน
หาเงินจากไหนให้พอจัดการ
ปานกลาง
ทำอย่างไรให้หลักประกันครอบคลุม
รวย
คุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มอย่างไร
ปัญหาระบบสุขภาพของไทย
การเลือกและการใช้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่(adverse selection)
อัตราคืนทุนต่ำในระบบสุขภาพ(low cost reconvery)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม(เอกชน)
ความไม่เท่าเทียมบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูง
แนวคิด
สนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการมีเป้าหมาย คือ
สุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด(Maximise health)
ทั่วถึง(Health for all)
ชุดสิทธิประโยชน์(Benefit packages) เข้าถึงบริการและไม่เกิดล้มละลายจากการจ่ายค่าบริการ เท่าเทียมกัน ดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย
Health financing process
Revenue collection
การเก็บเงินอย่างไรให้ตรงเป้า
Risk pooling
รวมความเสี่ยง
Resource allocation and purchasing
นำเงินที่ได้มากระจายจัดสรร
Service provision
เงื่อนไขการบริการ อย่างไร
แหล่งการเงินการคลัง
คลังอื่นๆ เงินช่วยเหลือจากแหล่งอื่นๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความรุนแรงปัญหา
เงินจากเอกชน รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน(out of pocket) จ่ายจากระบบประกันสุขภาพสมัครใจ(ประกันชีวิต)
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจ(เลิกจ้าง รายจ่ายเพิ่ม) หาบริการอื่นแทน
เงินจากรัฐ งบจากรัฐ รายจ่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สวัสดิการราชการ
เสถียรมากจากการเก็บภาษี(Taxation) ขึ้นอยู่กับนโยบายการเมือง
สภาพปัญหา เกิดความซ้ำซ้อน ลักลั่นของสิทธิประโยชน์ ภาระเบี้ยประกัน การจัดการการเงินการคลัง
ระบบสุขภาพ 3 ระบบ
ภายใต้ 3 กระทรวงหลัก คลัง สาธารณสุข แรงงาน
เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ในการรักษาพยาบาล ลดเลื่อมล้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเงิน
การเปลี่ยนแปลง
เศรษฐกิจ
สถานภาพและกระบวนการรักษา
ประชากร
อภิบาลระบบ
รายรับ
เงินสมทบ,ภาษี, รายได้, อัตราพึ่งพิง
รายจ่าย
ต้นทุนต่อหน่วยบริการ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
เราเป็นคนจ่าย เสี่ยงซื้อมาก(Adverse selection) กรณี Voluntary insurance
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริหาร
จริยธรรม บริการเกินความจำเป็น บริการต่ำกว่าที่จะเป็น
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric information)
ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ายมีไม่เท่ากัน
Adverse selection
กลุ่มหนึ่งเสี่ยงสูงอีกกลุ่มหนึ่งเสี่ยงต่ำ ผู้ตั้งราคาไม่ทราบว่าเสี่ยงขนาดไหนจึงตั้งราคากลางทำให้ทุกกลุ่มจ่ายเท่ากัน เสี่ยงต่ำเลยไม่ซื้อทำให้มีแต่เสี่ยงสูงทำให้เบี้ยประกันเพิ่มขึ้นด้วย
Moral hazard
คนที่ทำประกันก็จะไม่ดูแลตัวเองเพราะคิดว่าจะใช้ประกันให้คุ้มเพราะจ่ายไปเยอะบริษัทประกันต้องรับมือกับการจ่ายสินไหมบ่อยขึ้นโดยไม่จำเป็น
หลังป่วย ถ้าไม่มีประกันคนจะดูแลสุขภาพ
ก่อนป่วย เมื่อไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลก็จะไม่ระวังสุขภาพ
ระบบประกันสุขภาพ
องค์ประกอบ
A:ผู้ป่วย/ประชาชน B:ผู้ให้บริการ C:กองทุน D:รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ประเภท
ระบบภาษี
Tax-based health insuranceหรือBeveridgebmodel
เช่น บัตรทอง ข้าราชการ
แบบบังคับ
Compulsory health insurance หรือ Bismarck model
เช่น ประกัน พรบ. ประกันสังคม
แบบสมัครใจ
Voluntary health insurance
เช่น ประกันสุขภาพ
รูปแบบ
สิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เจ็บป่วยที่ไม่ใช่ฉุกเฉินอาจรอรับหรือเลือกสรรการบริการเวาลปกติได้
แนวทางใช้สิทธิ
เข้ารับบริการตามหน่วยที่มีสิทธิขั้นปฐมภูมิก่อนแล้วแจ้งขอใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พร้อมหลักฐานเช่นบัตรประจำตัวประชาชน
ประกันสังคม ไตรภาคี
มีลูกจ้าง1คนขึ้นไป จ่ายสมทบทุนใน30วัน ผู้ประกันตนร่วมจ่ายร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน นายจ้างจ่ายร่วมร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน รัฐบาลร้อยละ 2.5 ของเงินเดือน จำนวนเงินคิดจากฐานจ้างขั้นต่ำ 1650 จ่ายไม่เกิน 15000ต่อเดือน
รับสิทธิประโยชน์ 7 กรณี
ว่างงาน
เจ็บป่วย
รักษาของรัฐ ผู้ป่วยนอก เบิกเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ผู้ป่วยใน เบิกเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ค่าห้องและอาหารเบิกได้วันละไม่เกิน 700
เอกชน ผู้ป่วยนอก เบิกเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1000 ผู้ป่วยใน กรณีไม่ได้รักษาห้อง ICUเบิกได้ไม่เกินวันละ 2000 ห้องและอาหารไม่เกิน700 กรณีรักษาในICUห้องอาหาร ค่ารักษา เบิกได้วันละไม่เกิน 4500 ผ่าตัดใหญ่ครั้งละไม่เกิน8000-16000ตามระยะเวลาผ่าตัด ค่าฟื้นคืนชีพ ยา อุปกรณ์เบิกได้ไม่เกิน 40000 ห้องปฏิบัติการหรือเอกซเรย์ไม่เกินรายละ 1000ค่าตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจคลื่นสมอง อัลตราซาวด์ เบิกได้ตามรายการและอัตราที่กำหนด
ชราภาพ
สงเคราะห์บุตร
คลอดบุตร
ทุพพลภาพ
ตาย
พรบ.พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
ค่าเสียหายเบื้องต้น(จ่ายโดยไม่ต้องรอพิสูจน์ถูกผิด)
บาดเจ็บ ค่ารักษาตามจริงไม่เกิน 30000 สูญเสียอวัยวะ 35000 เสียชีวิต/ทุพพลภาพถาวร
ค่าสินไหมทดแทน(จ่ายหลังจากพิสูจน์ถูกผิดแล้ว
)บาดเจ็บ ค่ารักษา/ค่าอนามัยตามจริงไม่เกิน80000 สูญเสียอวัยวะ นิ้วขาด 1ข้อ 200000 เสียอวัยวะ 1ส่วน 250000 เสีย 2ส่วน 300000 เสียชีวิต/ทุพพลภาพ 300000 นอนรักษาที่โรงพยาบาลเบิกได้วันละ200ไม่เกิน20วัน
กลุ่มวินิฉัยโรคร่วม
เป็นเครื่องมือในการจัดสรรเงิน จ่ายเงินและประเมินผลงานการจัดบริการ สร้างมาตรฐานการคิดค่าบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน